Page 98 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 98

ขาวปั้น
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     ขาวพรหมจรรย์
                                                                     Somrania albiflora D. J. Middleton
                                                                     วงศ์ Gesneriaceae
                                                                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 20 ซม. มีขนแตกแขนงและขนต่อมตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง
                                                                     ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยง และกลีบดอกด้านนอก ใบเรียงติดโคนต้น
                                                                     หรือเรียงตรงข้ามบนกิ่งขนาดไม่เท่ากัน รูปไข่ ยาว 1.8-16.5 ซม. โคนเว้า เบี้ยว
                                                                     ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาว 3.5-14 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกออกตามล�าต้น
                                                                     1-3 ช่อ ก้านช่อยาว 5-13.5 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาว 2.5-5 มม. ก้านดอกยาว
                  ข้าวตอก: ใบเรียงตรงข้าม หูใบติดก้านใบ ดอกรูปแตร สีขาวหรืออมชมพู ด้านในมีขน ติดใกล้ปากหลอดกลีบ และ  5.5-7.5 มม. หลอดกลีบเลี้ยงสั้น มี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวประมาณ 4 มม.
                มีพันธุ์ดอกซ้อน (ภาพ: cultivated - RP)               ดอกสีขาว สมมาตรด้านข้าง หลอดกลีบดอกรูปทรงกระบอก ยาว 0.9-1 ซม.
                ขาวปั้น                                              กลีบรูปไข่กว้าง กลีบบน 2 กลีบ กว้างประมาณ 4.5 มม. กลีบล่าง 3 กลีบ กว้างประมาณ
                                                                     3.5 มม. เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดใต้จุดกึ่งกลางหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูยาว
                Pterocephalodes siamensis (Craib) V. Mayer & Ehrend.  ประมาณ 4 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน จานฐานดอกสีเหลือง ขอบจักมน
                วงศ์ Caprifoliaceae                                  มี 2 คาร์เพล ยาวประมาณ 1.1 ซม. รวมยอดเกสรเพศเมีย ผลแห้งแตก รูปกระสวย
                  ชื่อพ้อง Scabiosa siamensis Craib, Pterocephalus siamensis (Craib) Verlaque  ยาว 0.7-1.1 ซม. เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก
                   ไม้ล้มลุก สูง 10-50 ซม. ล�าต้นอวบหนา ใบติดรอบโคนต้นหรือปลายกิ่งแบบ  พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่ระนอง ขึ้นตามหินปูนที่ชุ่มชื้น ความสูง
                กุหลาบซ้อน รูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ จักตื้น ๆ 3-5 พู ยาว   ถึงประมาณ 550 เมตร
                3-13 ซม. ปลายมน โคนสอบคล้ายปีกเป็นก้านใบโอบล�าต้น ขอบจักซี่ฟันห่าง ๆ
                ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกเดี่ยว ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม. ก้านช่อยาว   สกุล Somrania D. J. Middleton สกุลพืชถิ่นเดียวของไทย มี 3 ชนิด อีก 2 ชนิด
                5-20 ซม. มีขนสั้นนุ่ม วงใบประดับคล้ายใบ 2-3 วง รูปใบหอก ยาว 1-2 ซม.   ดอกขนาดใหญ่กว่า คือ S. lineata D. J. Middleton & Triboun พบที่พังงา
                                                                       กลีบดอกด้านในมีปื้นสีเหลืองอมน้ำาตาล 2 แนว และ S. flavida D. J. Middleton
                ใบประดับรูปแถบ ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงเป็นขนแข็งมีประมาณ 15 อัน   & Triboun พบที่สุราษฎร์ธานี ปื้นสีเหลือง ก้านใบสั้นกว่า ชื่อสกุลตั้งตามชื่อ
                ยาวประมาณ 7.5 มม. มีขนรูปตะขอ ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาว 1-1.2 ซม.   ดร.สมราน สุดดี นักพฤกษศาสตร์กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
                กลีบรูปรีกว้าง กลีบบน 1 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ยาวประมาณ 3.5 มม. ด้านนอก
                มีขน เกสรเพศผู้ 4 อัน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก อับเรณูสีม่วงอ่อน รังไข่ใต้  เอกสารอ้างอิง
                วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้นกว่าเกสรเพศผู้ ผลแห้งเมล็ดล่อน ติดกับวงใบประดับ   Middleton, D.J. and P. Triboun. (2012). Somrania, a new genus of Gesneriaceae
                มีเมล็ดเดียว                                              from Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 40: 9-13.
                                                                       ________. (2013). A new species of Somrania (Gesneriaceae) from Thailand.
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยหัวหมด จังหวัดตาก และดอย  Gardens’ Bulletin Singapore 65(2): 181-184.
                เชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามเขาหินปูนที่เปิดโล่ง ความสูง 900-2200 เมตร
                เดิมอยู่สกุล Scabiosa ที่มีกลีบเลี้ยง 5 อัน และใบติดตามล�าต้น ลักษณะทั่วไป
                คล้ายกับ Pterocephalodes hookeri (C. B. Clarke) V. Mayer & Ehrend.
                ซึ่งบางข้อมูลระบุให้เป็นชื่อพ้องของ Pterocephalus hookeri (C. B. Clarke)
                E. Pritz. กลีบเลี้ยงเป็นขนแข็งเป็นแฉกคล้ายขนนก 20 อัน
                   สกุล Pterocephalodes V. Mayer & Ehrend. เดิมมีหลายชนิดและเคยอยู่ภายใต้
                   วงศ์ Dipsaceae ปัจจุบันอยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Dipsacoideae เป็นสกุลที่แยกออก
                   มาจากสกุล Pterocephalus ปัจจุบันอาจมีเพียงชนิดเดียวหรือ 3 ชนิด ชื่อสกุล
                   หมายถึงสกุลที่คล้ายกับสกุล Pterocephalus
                                                                      ขาวพรหมจรรย์: S. albiflora มีขนกระจาย ขอบใบจักซี่ฟัน ช่อดอกแบบช่อกระจุกออกตามล�าต้น ดอกสมมาตร
                                                                     ด้านข้าง (ภาพ: ถ�้าพระขยางค์ ระนอง - RP)
                  เอกสารอ้างอิง
                   Craib, W.G. (1933). Contributions to the Flora of Siam. Bulletin of Miscellaneous
                      Information Kew 1933: 33.
                   Hong, D., L. Ma and F.R. Barrie. (2011). In Flora of China Vol. 19: 655.
                   Mayer, V. and F. Ehrendorfer. (2000). Fruit differentiation, palynology, and
                      systematics in Pterocephalus Adanson and Pterocephalodes, gen. nov.
                      (Dipsacaceae). Botanical Journal of the Linnean Society 132(1): 47-78.


                                                                      ขาวพรหมจรรย์: S. lineata ใบออกตามโคนต้น กลีบดอกด้านในมีปื้นสีเหลืองอมน�้าตาล 2 แนว (ภาพ: พังงา - TP)
                                                                     ขิง, สกุล
                                                                     Zingiber Mill.
                                                                     วงศ์ Zingiberaceae
                                                                       ไม้ล้มลุก เหง้าแตกแขนงมีกลิ่นหอม ใบเรียงสลับระนาบเดียวกัน ช่อดอก
                                                                     ออกจากเหง้าหรือล�าต้น รูปโคนกว้างหรือรูปกระสวย กาบเป็นแผ่นคล้ายเกล็ด
                                                                     ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อมชิดกัน แต่ละใบประดับมีดอกเดียว ใบประดับย่อย
                                                                     ไม่เป็นหลอด กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดแยกด้านเดียว ปลายจักตื้น ๆ 3 จัก
                                                                     หลอดกลีบดอกเรียวยาว กลีบดอก 3 กลีบ กลีบคู่ข้างเรียวแคบ แผ่นเกสรเพศผู้
                                                                     ที่เป็นหมันด้านข้างแนบติดกลีบปากดูคล้ายกลีบปากมี 3 กลีบ กลีบปากปลาย
                  ขาวปั้น: ใบจักตื้น ๆ 3-5 พู โคนสอบคล้ายปีก ขอบจักซี่ฟัน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น วงใบประดับคล้ายใบ   มักเว้าตื้น ก้านชูอับเรณูสั้น แกนอับเรณูเป็นสันหุ้มเกสรเพศเมีย รังไข่มี 3 ช่อง
                กลีบเลี้ยงเป็นขนแข็ง เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK)  ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีขาว จักชายครุย

                78






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   78                                                                  3/1/16   5:18 PM
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103