Page 97 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 97
ข้าวตอก
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ขามคัวะ ละเอียด ปลายอับเรณูมีจะงอยสั้น ๆ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน รังไข่และโคน
Pterospermum semisagittatum Buch.-Ham. ex Roxb. ก้านเกสรเพศเมียมีขนประปราย ผลยาว 5-7 มม.
วงศ์ Sterculiaceae พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภาคเหนือของไทยที่เชียงใหม่ และล�าปาง ขึ้นตามริม
ล�าธารในป่าดิบเขา ความสูง 1000-1500 เมตร แยกเป็น var. crinita W. T. Wang
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนคล้ายขนแกะ พบที่จีนตอนใต้ ลักษณะทั่วไปคล้ายกับ
16-25 ซม. ปลายบางครั้งยาวคล้ายหาง โคนเป็นเงี่ยงลูกศร แผ่นใบด้านล่างมีขน จอกหินน้อย P. heterophylla B. L. Burtt ที่ใบค่อนข้างใหญ่ แผ่นใบมีตุ่มนูนใหญ่
เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ใบประดับรูปรี ยาวประมาณ หรือใบขนาดเล็กมีตุ่มละเอียด โคนกลีบดอกด้านล่างสีม่วงเข้ม เป็นพืชถิ่นเดียว
5 ซม. ขอบจักชายครุย กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 4-8 ซม. มีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่น ของไทย พบที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
กลีบดอกรูปใบพาย ยาว 4.5-6 ซม. ด้านนอกมีขนกระจาย เกสรเพศผู้ยาวประมาณ
3 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาว 4.5-5 ซม. ก้านชูอับเรณูมีต่อมโปร่งใส รังไข่มี เอกสารอ้างอิง
ขนหนาแน่น ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 ซม. โคนมีขนกระจาย ผลรูปรี ยาว Burtt, B.L. (2001). Flora of Thailand: annotated checklist of Gesneriaceae. Thai
6-8 ซม. มีขนหนาแน่น เมล็ดรูปไข่ ยาว 2.5-3 ซม. มีปีกบาง ๆ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ Forest Bulletin (Botany) 29: 105-106.
ล�าป้าง, สกุล) Wang, W., K.Y. Pan, Z.Y. Li, A.L. Weitzman and L.E. Skog. (1998). Gesneriaceae.
In Flora of China Vol. 18: 302, 308.
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู ในไทยกระจาย
ห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 900 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 615.
ขาวก�ามะหยี่: ไม้ล้มลุกขึ้นบนหิน มีขนขนยาวตามก้านใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน ช่อดอก ก้านดอก และกลีบเลี้ยง
โคนกลีบบนด้านในมีปื้นสีเหลือง โคนกลีบล่างปื้นสีเหลืองเข้ม (ภาพ: สันก�าแพง เชียงใหม่ - RP)
ขามคัวะ: เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น โคนใบเป็นเงี่ยงลูกศร ผลมีขนหนาแน่น (ภาพ: อ่าวพังงา พังงา - SSi)
จอกหินน้อย: P. heterophylla แผ่นใบมีตุ่มนูนกระจาย มีขนหนาแน่น โคนกลีบดอกด้านล่างสีม่วงเข้ม (ภาพ:
ขาวกำามะหยี่, สกุล เชียงดาว เชียงใหม่ - PK)
Petrocosmea Oliv. ข้าวตอก
วงศ์ Gesneriaceae Serissa japonica (Thunb.) Thunb.
ไม้ล้มลุก ขึ้นบนพื้นดินหรือหิน มีเหง้า ไม่มีล�าต้น ใบออกที่โคน ช่อดอกแบบ วงศ์ Rubiaceae
ช่อกระจุกหรือคล้ายช่อซี่ร่ม ออกตามซอกใบ ใบประดับ 2 ใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ชื่อพ้อง Lycium japonicum Thunb., Serissa foetida (L. f.) Lam.
แยกจรดโคน หรือเชื่อมติดกันคล้ายมี 3 กลีบ กลีบดอกรูปปากเปิด หลอดกลีบกว้าง ไม้พุ่ม สูงถึงเกือบ 1 ม. กิ่งมีขน หูใบติดก้านใบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก
สั้นกว่ากลีบดอก กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กัน หรือกลีบล่าง ปลายมีขนแข็ง ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 2.2 ซม.
ยาวกว่ากลีบบน เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดที่โคนหลอดกลีบด้านล่าง ไม่ยื่นพ้นปากหลอด เส้นแขนงใบข้างละ 2-4 เส้น ก้านใบสั้น หรือยาวได้ถึง 2 มม. ช่อดอกแบบช่อ
ปลายอับเรณูเชื่อมติดกัน แตกตามยาว เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันติดด้านบนหลอดกลีบ กระจุกแน่น ออกตามปลายกิ่ง มักมีดอกเดียว ไร้ก้าน ใบประดับรูปลิ่มแคบ กลีบเลี้ยง
หรือไม่มี ไม่มีจานฐานดอก ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก ยาว และกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4-6 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 1-5 มม.
เท่า ๆ กลีบเลี้ยง เมล็ดจ�านวนมากขนาดเล็ก ไม่มีรยางค์ ขยายในผลคล้ายหนาม ดอกรูปแตร สีขาวหรืออมชมพู หลอดกลีบดอกยาว 4-8 มม.
ด้านในมีขน กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2.5-3 มม. เกสรเพศผู้ 4-6 อัน ติดใกล้ปาก
สกุล Petrocosmea มี 32 ชนิด พบที่อินเดีย จีน พม่า เวียดนาม ในไทยมี 6 ชนิด
ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “petros” หิน และ “kosmos” ประดับ หมายถึงพืชที่มัก หลอดกลีบ อับเรณูติดด้านหลังใกล้โคน รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล
ขึ้นคล้ายเป็นไม้ประดับบนหิน 1 เม็ด เกสรเพศเมียมีทั้งแบบสั้นและแบบยาว ยอดเกสรแยกเป็น 2 พู ผลแห้ง
คล้ายผลผนังชั้นในแข็ง เปิดด้านบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. มี 2 ไพรีน
ขาวกำามะหยี่ มีถิ่นก�าเนิดในจีน ไต้หวัน และอาจเป็นไม้ต่างถิ่นในญี่ปุ่น นิยมท�าเป็นไม้แคระ
Petrocosmea kerrii Craib ไม้พุ่มรั้ว มีทั้งกลีบซ้อน และใบด่าง ไม่ติดผล ใบขยี้มีกลิ่นเหม็นคล้ายกับพืชใน
สกุล Paederia และ Leptodermis ซึ่งต่างอยู่ภายใต้เผ่า Paederieae เหมือนกัน
ไม้ล้มลุก มีขนหนาแน่นตามก้านใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน ช่อดอก ก้านดอก และ
กลีบเลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาวได้ถึง 17 ซม. ขอบจักซี่ฟัน ปลายแหลมหรือมน สกุล Serissa Comm. ex Juss. มี 2 ชนิด พบที่เนปาล จีน ญี่ปุ่น และเวียดนาม
โคนกลม เบี้ยว ก้านใบยาวได้ถึง 13 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม มีได้ถึง 7 ดอก ในไทยพบเป็นไม้ประดับชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาอินเดียที่ใช้เรียกชนิดนี้
ก้านช่อดอกยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 2 มม. ก้านดอกยาว
1-2 ซม. กลีบเลี้ยงแยกเป็น 3 ส่วน กลีบบน ยาว 3-5 มม. กลีบคู่ล่างรูปสามเหลี่ยม เอกสารอ้างอิง
ยาว 1.5-2 มม. ดอกสีขาว โคนกลีบบนด้านในมีปื้นสีเหลือง โคนกลีบล่างมีปื้น Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Serissa). In Flora of China Vol.
19: 323-324.
สีเหลืองเข้ม ด้านนอกมีขนละเอียด หลอดกลีบยาว 4-5 มม. กลีบคู่บนเส้นผ่านศูนย์กลาง Puff, C. and V. Chamchumroon. (2003). Non-indigenous Rubiaceae grown in
ประมาณ 6 มม. 3 กลีบล่างเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 8 มม. ก้านชูอับเรณูมีขน Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 31: 87.
77
59-02-089_001-112 Ency_new5-3 i_Coated.indd 77 3/5/16 4:51 PM