Page 93 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 93
ข่อย
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
วงนอกรูปไข่ ติดทน วงในรูปใบหอกร่วงพร้อมผล ดอกสีม่วง เกสรเพศเมียยื่นยาว
ดอกวงนอกจ�านวนมากเป็นดอกเพศเมีย กลีบรูปเส้นด้าย ยาว 3-5 มม. ดอกวงใน
มี 2-7 ดอก คล้ายเป็นดอกเพศผู้ รูปหลอด ยาวกว่าวงนอกเล็กน้อย ปลายจักตื้น ๆ
5 จัก มีต่อมกระจาย เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดภายในหลอดกลีบยื่นพ้นปากหลอดกลีบ
โคนอับเรณูเป็นเงี่ยง มีหาง ยอดเกสรแยก 2 แฉก ผลแห้งเมล็ดล่อน ยาวประมาณ
1 มม. เป็นเหลี่ยม แพปพัสยาวเท่า ๆ กลีบดอก
พบที่อินเดีย พม่า ไห่หนาน ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบ
ทางภาคกลาง ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามชายฝั่งทะเล ชายป่าโกงกาง
ใบมีกลิ่นหอม มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง เช่น ช่วยเจริญอาหาร แก้ไข้
ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ บรรเทาโรคเบาหวาน เป็นต้น
สกุล Pluchea Cass. อยู่ภายใต้เผ่า Inuleae มีประมาณ 80 ชนิด พบในอเมริกา
ฮาวาย แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตาม
ขยัน: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่งที่แห้งแล้ง ขึ้นหนาแน่น ช่อดอกแบบช่อกระจะ เกสรเพศผู้ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก นักธรรมชาติวิทยาชาวฝรั่งเศส Noël-Antoine Pluche (1688-1761)
ฝักรูปใบหอก ปลายมีจะงอย (ภาพ: ก�าแพงเพชร - RP)
เอกสารอ้างอิง
ขยุ้มตีนหมา Chen, Y. and A.A. Anderberg. (2011). Asteraceae (tribe Inuleae). In Flora of
Ipomoea pes-tigridis L. China Vol. 20-21: 847-848.
วงศ์ Convolvulaceae
ไม้เถาล้มลุก มีขนสากตามล�าต้น กิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน วงใบประดับ และ
กลีบเลี้ยง ใบรูปฝ่ามือ มี 5-9 พู กว้างยาวได้ถึง 13 ซม. โคนเว้าลึก พูรูปรีหรือ
รูปขอบขนาน โคนเชื่อมติดกันเป็นแผ่น ก้านใบยาว 2-8 ซม. ช่อดอกแบบกระจุกแน่น
ออกตามซอกใบ ก้านยาว 4-11 ซม. ใบประดับวงนอกรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม.
วงในขนาดเล็กและแคบกว่า ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 1-1.4 ซม.
ดอกรูปล�าโพง สีขาว บานตอนกลางคืน ยาว 3-4 ซม. ผลแห้งแตก รูปไข่ ยาว
ประมาณ 7 มม. แตกเป็น 4 ซีก เมล็ดรูปรี ยาวประมาณ 4 มม. มีขน (ดูข้อมูล
เพิ่มเติมที่ ผักบุ้ง, สกุล)
ขลู่: ขอบใบจักซี่ฟัน แผ่นใบค่อนข้างหนา โคนสอบเรียว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นเรียงแบบช่อกระจุกแยกแขนง
พบที่แอฟริกา อินเดีย ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาค วงใบประดับรูปทรงกระบอก กลีบดอกรูปเส้นด้าย เกสรเพศเมียยื่นยาว (ภาพ: สามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์- RP)
อินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย ข่อย, สกุล
พบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ป่าเสื่อมโทรม ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร
ทั้งต้นบดใช้ระงับพิษสุนัขบ้า ใบบดละเอียดพอกปากแผล ฝี หรือสิว Streblus Lour.
วงศ์ Moraceae
เอกสารอ้างอิง
Staples, W.G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 421-422. ไม้พุ่ม รอเลื้อยหรือไม้ต้น แยกเพศต่างต้นหรือร่วมต้น ส่วนมากมีหนาม หูใบ
แยกหรือเชื่อมติดกัน ร่วงเร็ว ใบเรียงสลับระนาบเดียว เนื้อใบมีผลึกซิสโทลิท
ช่อดอกแบบช่อกระจะ ช่อเชิงลด หรือช่อกระจุก ออกตามซอกใบ ใบประดับและ
ใบประดับย่อยขนาดเล็ก บางครั้งดอกสมบูรณ์เพศ ช่อดอกเพศผู้ดอกจ�านวนมาก
เกสรเพศผู้ 3-5 อัน ช่อดอกเพศเมียมักมีดอกเดียว กลีบรวมส่วนมากมี 4 กลีบ
บางครั้งขยายในผล ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลสด
ผนังชั้นในแข็ง แห้งแตกหรือไม่แตก โคนมักขยายด้านเดียว มีเมล็ดเดียว
สกุล Streblus มีประมาณ 22 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 6 ชนิด
ชื่อสกุลอาจมาจากภาษาละติน “strebula” ส่วนโค้งที่สด หมายถึงผลสดที่มักขยาย
ที่โคนด้านเดียว หรือมาจากภาษากรีก “streblos” บิดเวียน ตามลำาต้นที่มักบิดงอ
หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่างโดยเฉพาะเปลือกและน้ำายางมี
สรรพคุณต้านเชื้อแบคทีเรีย
ข่อย
ขยุ้มตีนหมา: มีขนสากหนาแน่นทั่วไป ใบรูปฝ่ามือ มีวงใบประดับ กลีบดอกรูปล�าโพง (ภาพผล: ปราจีนบุรี - PK; Streblus asper Lour.
ภาพดอก: บ้านตาก ตาก - RP)
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มักแตกกอ หูใบยาว 3-5 มม. ใบรูปรี รูปไข่กลับ หรือ
ขลู่ รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 13 ซม. แผ่นใบสาก ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้างละ
Pluchea indica (L.) Less. 4-8 เส้น ก้านใบยาว 1-5 มม. ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจุกแน่น เส้นผ่านศูนย์กลาง
วงศ์ Asteraceae 0.5-1 ซม. ก้านช่อยาวได้ถึง 1.5 ซม. ดอกเกือบไร้ก้าน กลีบรวมยาวประมาณ 2 มม.
ชื่อพ้อง Baccharis indica L. เกสรเพศผู้ยาวเท่า ๆ กลีบรวม ช่อดอกเพศเมียก้านช่อยาวได้ถึง 2 ซม. กลีบรวม
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. มีขนตามกิ่งอ่อน วงใบประดับ และฐานดอก ใบเรียงเวียน ขยายในผล ยาว 5-8 มม. มีขนสั้นนุ่ม ยอดเกสรเพศเมียขยายในผลยาวได้ถึง 1.2 ซม.
รูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2-9 ซม. ปลายแหลม มีติ่ง โคนสอบเรียว ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 มม. สุกสีเหลืองอมส้ม
ขอบจักซี่ฟัน แผ่นใบค่อนข้างหนา ไร้ก้านหรือมีก้านสั้น ๆ ช่อดอกแบบช่อ พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
กระจุกแน่น เรียงแบบช่อกระจุกแยกแขนง มักแผ่กว้างได้กว่า 10 ซม. ก้านช่อสั้น และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ที่โล่ง หรือบนเขาหินปูน
วงใบประดับรูปทรงกระบอก ยาว 5-6 มม. ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อม 6-7 วง ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร เนื้อไม้ทุบใช้แปรงฟันแก้เหงือกอักเสบ
73
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 73 3/1/16 5:17 PM