Page 91 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 91

ขมหิน
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                        ติดทน กลีบดอกเรียงซ้อนเหลื่อมในตาดอก มี 5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาว 3-4 มม.
                                                                        โคนมีลิ้นสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน เชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาวไม่เท่ากัน 2 ชุด
                                                                        ยาวกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย ติดทน รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1-2 เม็ด ส่วนมาก
                                                                        พัฒนาช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน ติดทน ผลผนังชั้นในแข็ง รูปขอบขนาน
                                                                        ยาว 0.8-1 ซม. สุกสีแดง เมล็ดแบน เรียว ยาว 6-8 มม. ผิวเป็นร่อง
                                                                           พบที่พม่า คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา และฟิลิปปินส์ ในไทย
                                                                        พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่งทะเล

                                                                           สกุล Erythroxylum P. Browne มีประมาณ 230 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกาใต้
                                                                           ในไทยมี 3 ชนิด และมีที่นำาเข้ามาปลูกเพื่อการศึกษาวิจัย คือ โคคา E. no-
                                                                           vogranatense (D. Morris) Hieron. แผ่นใบมีเส้นผ่านเส้นร่างแหข้างละ 1 เส้น
                                                                           ของเส้นกลางใบ ต่างจาก โคคา ชนิด E. coca Lam. ที่ใบขนาดเล็กกว่า ทั้งสอง
                                                                           ชนิดใบมีสาร crystalline tropane alkaloid หรือ cocaine มีฤทธิ์กระตุ้นระบบ
                      ไก่แดงย่าน: ช่อดอกมี 1-4 ดอก มีขนละเอียด กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด (ภาพ: นราธิวาส - MP)
                                                                           ประสาทและระงับความต้องการของร่างกาย เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 2
                    ไก่ฟ้า                                                 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 ของไทย ในทางการแพทย์
                    Aristolochia ringens Vahl                              ใช้เป็นยาชาเฉพาะที่ และยังเป็นส่วนผสมที่สำาคัญของเครื่องดื่มที่ให้กลิ่นโคคา
                                                                           หรือที่เรียกว่าน้ำาดำา ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “erythros” สีแดง และ “xylon”
                    วงศ์ Aristolochiaceae                                  เนื้อไม้ ตามลักษณะของเนื้อไม้ในพืชหลายชนิดของสกุล
                       ไม้เถา มีต่อมทั่วไป กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่ม หูใบเทียมเป็นแผ่นคล้ายใบ รูปคล้ายไต
                    มี 2 พู ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 1.5-2.5 ซม. และ 0.6-1.5 ซม. ใบรูปหัวใจกว้าง ยาว   เอกสารอ้างอิง
                                                                           Chung, R.C.K. and M. Brink. (1999). In Plant Resources of South-East Asia
                    5-6 ซม. กว้าง 6-7 ซม. ปลายแหลม มน หรือกลม โคนเว้าลึกรูปหัวใจ แผ่นใบด้านล่าง  12(1) Medicinal and Poisonous Plants 1: Backhuys Publishers, Leiden.
                    มีนวล ก้านใบยาว 3-8 ซม. เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ   Harwood, B. and K. Chayamarit. (2011). Erythroxylaceae. In Flora of Thailand
                    ก้านดอกยาว 5-7 ซม. หลอดกลีบโค้งงอ มีลายร่างแหสีม่วงอมน�้าตาลแดง โคนเป็น   Vol. 11(1): 8-13.
                    กระเปาะยาว 6-8 ซม. มีจุดสีเขียวกระจาย กลีบบนรูปใบพาย ยาว 4.5-6 ซม.
                    กลีบล่างรูปใบหอก คล้ายหาง ยาว 9-15 ซม. ปลายมน ผลรูปทรงกระบอกเป็นเหลี่ยม
                    ยาว 5-7.5 ซม. เมล็ดขนาดเล็ก รูปหัวใจ แบน ด้านข้างมีปีก ยาว 1-1.2 ซม. (ดูข้อมูล
                    เพิ่มเติมที่ กระเช้าสีดา, สกุล)
                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ดอกมีกลิ่นแรง ใบเป็นอาหารตัวอ่อนของผีเสื้อถุงทอง
                    เป็นหนึ่งในประมาณ 5 ชนิดที่เป็นไม้ต่างถิ่นของสกุล ชนิดอื่น ๆ ได้แก่ ไก่ฟ้าใหญ่
                    A. gigantea Mart. นกกระทุง A. labiata Willd. เหนียงนกกระทุง A. littoralis   ไกรทอง: ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ผลสุกสีแดง เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: เกาะสุรินทร์ พังงา - SSi)
                    Parodi ทั้งสามชนิดมีถิ่นก�าเนิดในบราซิล และนกกระทุงใหญ่ A. macrophylla
                    Lam. มีถิ่นก�าเนิดทางตะวันออกของสหรัฐอเมริกา

                      เอกสารอ้างอิง
                       Phuphathanaphong, L. (1987). Aristolochiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 13.




                                                                          โคคา: E. novogranatense แผ่นใบมีเส้นผ่านเส้นร่างแหข้างละ 1 เส้น (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                        ขมหิน
                                                                        Pilea microphylla (L.) Liebm.
                                                                        วงศ์ Urticaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Parietaria microphylla L.
                                                                           ไม้ล้มลุก ทอดนอน แยกเพศร่วมต้น ล�าต้นและใบอวบน�้า เกลี้ยง มีผลึก
                                                                        ซิสโทลิทหนาแน่น หูใบเป็นเยื่อบางขนาดเล็ก ติดทน ใบเรียงตรงข้ามขนาดไม่
                                                                        เท่ากัน รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 2-7 มม. ปลายมน แผ่นใบด้านล่างมีผลึกซิสโทลิท
                                                                        เป็นขีดกระจาย เส้นแขนงใบไม่เด่นชัด ก้านใบยาว 1-4 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                      ไก่ฟ้า: หูใบเทียมเป็นแผ่นคล้ายใบ แผ่นใบด้านล่างมีนวล หลอดกลีบดอกโค้งงอ กลีบล่างรูปใบหอก ยาวคล้ายหาง    อัดแน่นตามซอกใบ แต่ละช่อมีได้ถึง 15 ดอก ก้านช่อยาวได้ถึง 6 มม. หรือไร้ก้าน
                    (ภาพซ้าย: cultivated - RP); ไก่ฟ้าใหญ่ (ภาพบนขวา: cultivated - RP); เหนียงนกกระทุง (ภาพล่างขวา: cultivated - RP)   ดอกขนาดเล็ก ดอกเพศผู้ กลีบรวม 3-4 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้ 3-4 อัน ดอกเพศเมีย
                                                                        กลีบรวม 3 กลีบ รูปขอบขนาน ยาวเท่า ๆ ผล เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันคล้ายเกล็ด
                    ไกรทอง                                              ยอดเกสรเพศเมียคล้ายขนแปรง ผลแห้งเมล็ดล่อน รูปไข่ ยาว 0.4-0.5 มม. ผิวเรียบ
                    Erythroxylum cuneatum (Miq.) Kurz                   มีวงกลีบรวมหุ้ม
                    วงศ์ Erythroxylaceae                                   มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ เป็นวัชพืชทั่วไป ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                      ชื่อพ้อง Urostigma cuneatum Miq.
                       ไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 30 ม. หูใบอยู่ในซอกก้านใบ ยาวประมาณ 6 มม. ติดทน   สกุล Pilea Lindl. มีประมาณ 400 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ใน
                    ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 4-10 ซม. ปลายมนหรือเว้าตื้น ก้านใบยาว   ไทยมีมากกว่า 10 ชนิด และมีไม้ประดับหลายชนิด เช่น สะระแหน่ประดับ P.
                    3-7 มม. ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ใบประดับ 2 ใบ ขนาดเล็ก ก้านดอกยาว   nummulariifolia (Sw.) Wedd. มีถิ่นกำาเนิดแถบแคริบเบียน และนกกระทา P.
                    0.3-1 ซม. ขยายในผล หลอดกลีบเลี้ยงสั้น กลีบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก มี 5 กลีบ   cadierei Gagnep. & Guillaumin มีถิ่นกำาเนิดในจีนและเวียดนาม ชื่อสกุลมาจาก

                                                                                                                      71






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   71                                                                  3/1/16   5:16 PM
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96