Page 87 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 87

แก้วน�้าค้าง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    แก้ว                                                   สกุล Guaiacum L. มีประมาณ 5 ชนิด พบเฉพาะในทวีปอเมริกา ชื่อสกุลมา
                    Murraya paniculata (L.) Jack                           จากภาษาสเปนในอเมริกาใต้ “guaiac” หรือ “guayaco” ที่ใช้เรียกแก้วเจ้าจอม
                    วงศ์ Rutaceae                                         เอกสารอ้างอิง
                      ชื่อพ้อง Chalcas paniculata L., Murraya exotica L.   ราชบัณฑิตยสถาน. (2547). อนุกรมวิธานพืชอักษร ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. ราชบัณฑิตยสถาน,
                                                                              กรุงเทพฯ.
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก สูงได้ถึง 10 ม. ใบประกอบชั้นเดียว เรียงเวียน ก้านใบ  Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                    ไม่มีปีก ใบย่อยมี 3-9 ใบ เรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่กลับ ยาว 2.5-7 ซม. โคนเบี้ยว   Press, Honolulu, Hawai`i.
                    ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เชื่อมติดกันที่โคน
                    รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 2 มม. ติดทน กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน
                    แกมรูปไข่กลับ ยาว 1-2 ซม. เรียงซ้อนเหลื่อม ฐานดอกรูปวงแหวน เกสรเพศผู้
                    10 อัน ยาวไม่เท่ากัน ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของกลีบดอก รังไข่มี 2-5 ช่อง แต่ละช่อง
                    มีออวุล 1-2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 7 มม. ยอดเกสรรูปโล่ ผลสดมี
                    หลายเมล็ด รูปรี ยาว 1-2 ซม. สุกสีแดง มี 1-2 เมล็ด มีขนเหนียวหุ้ม
                       พบที่อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและ
                    มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค
                    โดยเฉพาะตามเขาหินปูนทางภาคใต้ ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร เป็นไม้ประดับ
                    เนื้อไม้สีขาวนวล ใช้แกะสลัก ใบใช้แก้ปวดท้อง แก้คันบวมตามผิวหนัง  แก้วเจ้าจอม: ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย 2-3 คู่ ไร้ก้าน กลีบดอกสีฟ้าอมม่วง ผลรูปหัวใจ ปลายมีติ่งแหลม
                                                                        ขอบผลหนา (ภาพ: cultivated; ภาพดอก - RP, ภาพผล - SSi)
                       สกุล Murraya J. Koenig ex L. มีประมาณ 10 ชนิด ในไทยมี 3-4 ชนิด สำาหรับ  แก้วน้ำาค้าง, สกุล
                       แก้วที่เป็นไม้ประดับมีหลากสายพันธุ์ เช่น แก้วหิมาลัย แก้วแคระ หรือแก้ว
                       เวียดนาม ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวสวีเดน Johan Andreas Myrray   Codonoboea Ridl.
                       (1740-1791)                                      วงศ์ Gesneriaceae
                                                                           ไม้ล้มลุก โคนต้นมักมีเนื้อไม้ ใบส่วนมากเรียงตรงข้าม พบน้อยที่เรียงเวียน
                       เอกสารอ้างอิง
                       Ridley, H.N. (1922). Rutaceae. Flora of the Malay Peninsula Vol. 1: 353.  ปลายใบส่วนมากแหลมยาวและโคนเบี้ยวเล็กน้อย ขอบมักจักฟันเลื่อย ช่อดอก
                       Zhang, D. and T.G. Hartley. (2008). Rutaceae (Murraya). In Flora of China Vol.   แบบช่อกระจุกมีหนึ่งหรือหลายช่อ ออกตามซอกใบหรือแนบติดก้านใบ แต่ละช่อ
                          11: 85-86.                                    มีหนึ่งหรือหลายดอก ใบประดับขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจรดโคน ติดทน
                                                                        ดอกรูปแตร ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ยาวกว่าคู่บน เกสรเพศผู้ 2 อัน
                                                                        ติดภายในหลอดกลีบ ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก อับเรณูเชื่อมติดกัน ปลายแกน
                                                                        มีรยางค์คล้ายเดือยสั้น ๆ เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน ขนาดเล็ก จานฐานดอกเรียบ
                                                                        เป็นวง หรือจักเป็นพู รังไข่รูปทรงกระบอกเรียวจรดก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสร
                                                                        คล้ายโล่หรือรูปกระบอง ผลแห้งแตกตามยาวด้านบน รูปทรงกระบอก เมล็ด
                                                                        จ�านวนมาก ขนาดเล็ก

                                                                           สกุล Codonoboea เคยอยู่ภายใต้สกุล Didymocarpus sect. Codonoboea และ
                                                                           มีหลายชนิดเคยอยู่ภายใต้สกุล Henckelia ซึ่งเป็นสกุลที่เคยถูกยุบไปรวมกับสกุล
                                                                           Didymocarpus และคล้ายกับสกุล Loxocarpus ที่มีเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 2 อัน
                                                                           ผลชี้ขึ้นและแตกด้านบน แต่ผลสั้นโคนหนา ปัจจุบันมีประมาณ 120 ชนิด ส่วนมาก
                                                                           พบในภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมีประมาณ 14 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                           “kodon” ระฆัง และชื่อสกุล Boea


                      แก้ว: หลากสายพันธุ์ กลีบดอกเรียงซ้อนเหลื่อม เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน ยอดเกสรเพศเมียรูปโล่ ผลสุกสีแดง   แก้วน้ำาค้าง
                    (ภาพ: cultivated, ภาพบนซ้าย: แก้ว, ภาพบนขวา: แก้วเวียดนาม, ภาพล่างซ้ายและขวา: แก้วแคระ; - RP)
                                                                        Codonoboea hispida (Ridl.) Kiew
                    แก้วเจ้าจอม                                           ชื่อพ้อง Didymocarpus hispidus Ridl., Henckelia hispida (Ridl.) A. Weber
                    Guaiacum officinale L.                                 ไม้ล้มลุก สูง 30-50 ซม. มีขนสากตามแผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก และกลีบเลี้ยง
                    วงศ์ Zygophyllaceae                                 ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 3.5-11 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 7-12 เส้น ก้านใบยาว
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ข้อพองเป็นปุ่ม ใบประกอบปลายคู่ ก้านใบยาว 0.5-1 ซม.   0.5-2 ซม. ช่อดอกมี 1-3 ดอก ก้านช่อยาว 7.5 ซม. ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยง
                    ใบย่อยมี 2-3 คู่ รูปไข่กลับหรือรูปรีกว้าง ปลายมนกลม โคนรูปลิ่มกว้าง ไร้ก้าน   รูปแถบ ยาว 3-8 มม. ดอกสีขาว ยาว 2.5-3 ซม. ด้านนอกมีขนกระจาย ด้านในมี
                                                                        ขนยาวและตุ่มประปราย มีปื้นสีเหลือง 2 แนว มีเส้นสีม่วงแดงแซม ก้านเกสรเพศเมีย
                    ช่อดอกแบบช่อกระจุก มี 3-4 ดอก ออกตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก 5 กลีบ   ยาว 1.3-1.8 ซม. มีขนหนาแน่น ผลยาว 3.5 ซม.
                    ดอกสีฟ้าอมม่วงหรือขาว มี 5 กลีบ รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 1-2 ซม.
                    รวมก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน อับเรณูติดที่ด้านหลัง รังไข่ 2-5 ช่อง เกสรเพศเมีย   พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช ยะลา ขึ้นตาม
                    1 อัน ผลแห้งแตกรูปหัวใจ แบน ยาว 1.5-2 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ขอบหนา 2 ข้าง   ป่าดิบเขา ความสูง 1300-1400 เมตร
                    สีเหลืองอมส้ม มี 1-2 เมล็ด เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดง
                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และรัฐฟลอริดาของสหรัฐอเมริกา   แก้วน้ำาค้าง
                    เป็นดอกไม้ประจ�าชาติของจาไมก้า อยู่ในบัญชีที่ 2 ของ CITES เนื้อไม้โดยเฉพาะ  Codonoboea appressipilosa (B. L. Burtt) D. J. Middleton
                    แก่นมีความแข็งแรงสูง เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน ชื่อสามัญ Lignum vitae   ชื่อพ้อง Henckelia appressipilosa B. L. Burtt
                    หมายถึงไม้แห่งชีวิต wood of life อนึ่ง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. มีขนยาวหนาแน่นตามแผ่นใบทั้งสองด้าน ช่อดอก
                    ทรงน�าต้นกล้ามาจากเกาะชวา และทรงปลูกที่วังสวนสุนันทา เป็นดอกไม้ประจ�า  กลีบเลี้ยงด้านนอก ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 12-18 ซม.
                    มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา                         โคนสอบ ขอบจักลึกช่วงโคน เส้นแขนงใบข้างละ 25-30 เส้น ไร้ก้าน ช่อดอกมี


                                                                                                                      67






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   67                                                                  3/1/16   5:16 PM
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92