Page 83 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 83

กูดเยื่อ                                                       สารานุกรมพืชในประเทศไทย  กูดหางค่าง
                    Microsorum membranaceum (D. Don) Ching
                      ชื่อพ้อง Polypodium membranaceum D. Don
                       เฟินส่วนมากขึ้นบนหิน เหง้าเส้นผ่านศูนย์กลางกว่า 6 มม. เกล็ดรูปขอบขนาน
                    แกมรูปสามเหลี่ยม ยาวได้ถึง 1 ซม. กลางแผ่นเกล็ดมักมีขน ใบเรียงชิดไปใน
                    ทางเดียวกัน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ส่วนมากยาว 25-100 ซม. ขอบส่วนมาก
                    เป็นคลื่นเล็กน้อย แผ่นใบบาง โคนสอบเรียวเป็นปีกจรดก้านใบ ยาวได้ถึง 15 ซม.
                    ช่องร่างแหชัดเจน กลุ่มอับสปอร์ติดบนเส้นใบ รูปกลม การกระจายไม่เป็นระเบียบ
                    ระหว่างเส้นแขนงใบ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 มม.
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน เนปาล จีน ไห่หนาน ไต้หวัน ลาว เวียดนามตอนบน
                    และฟิลิปปินส์ ในไทยพบเฉพาะทางภาคเหนือ ขึ้นตามป่าดิบเขาที่ค่อนข้างชื้น
                    ความสูง 1000-1700 เมตร
                                                                          กูดโยง: เฟินอิงอาศัย ใบย่อยโค้งรูปเคียว โคนเป็นติ่งหูด้านเดียว กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงชิดขอบใบด้านละแถว
                      เอกสารอ้างอิง                                     (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                       Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                          Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/  กูดหางค่าง
                       Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae (Microsorum). In Flora of
                          Thailand 3(4): 523-534.                       Bolbitis heteroclita (C. Presl) Ching ex C. Chr.
                       Xianchun, Z. and H.P. Nooteboom. (2013). Polypodiaceae (Microsorum). In   วงศ์ Dryopteridaceae
                          Flora of China Vol. 2-3: 830-831.
                                                                          ชื่อพ้อง Acrostichum heteroclitum C. Presl
                                                                           เฟินขึ้นบนดินหรือส่งส่วนของล�าต้นเกาะตามต้นไม้หรือก้อนหิน เหง้าทอดนอน
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-8 มม. เกล็ดสีน�้าตาลเข้ม รูปใบหอก ยาว 4-5 มม. ขอบจัก
                                                                        ใบไม่สร้างสปอร์เป็นใบเดี่ยวหรือใบประกอบ ก้านใบยาว 10-30 ซม. โคนมีเกล็ด
                                                                        ใบย่อยมี 1-2 คู่ รูปขอบขนาน แผ่นใบบาง ยาว 7-15 ซม. ปลายยาวคล้ายหาง
                                                                        ไร้ก้าน ใบปลายรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 50-80 ซม. รวมปลายที่ยาว
                                                                        คล้ายหาง เส้นกลางใบมักมีตาพิเศษ ใบสร้างสปอร์เป็นใบประกอบ กว้าง 4-12 ซม.
                                                                        ยาว 15-19 ซม. ก้านใบยาว 7-15 ซม. โคนมีเกล็ด ใบย่อยมี 2-6 คู่ รูปขอบขนาน
                                                                        หรือรูปใบหอก ยาว 5-10 ซม. ปลายแหลมถึงเรียวแหลม โคนรูปลิ่ม ขอบเรียบ
                                                                        หรือจักมน ก้านใบสั้น กลุ่มอับสปอร์กระจายบนแผ่นใบด้านล่าง ไม่มีเยื่อคลุม
                                                                        ผนังสปอร์หนา
                                                                           พบที่อินเดีย เนปาล บังกลาเทศ พม่า จีนตอนใต้ ใต้หวัน ญี่ปุ่น ภูมิภาคอินโดจีน
                                                                        และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกีนี ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่ชุ่มชื้นใกล้ล�าธาร
                                                                        ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                      กูดเยื่อ: ใบเรียงชิดไปในทางเดียวกัน โคนสอบเรียวเป็นปีก กลุ่มอับสปอร์การกระจายไม่เป็นระเบียบระหว่างเส้น
                    แขนงใบ (ภาพ: แจ้ซ้อน ล�าปาง; ภาพวิสัย - TP; ภาพอับสปอร์ - PK)
                                                                           สกุล Bolbitis Schott เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Aspleniaceae หรือ Lomariopsidaceae
                    กูดโยง                                                 มีประมาณ 80 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อน โดยเฉพาะในเอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
                    Nephrolepis radicans (Burm. f.) Kuhn                   ในไทยมี 13 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “bolbos” หัว ตามลักษณะของตาพิเศษ
                                                                           ตามเส้นกลางใบ
                    วงศ์ Lomariopsidaceae
                      ชื่อพ้อง Polypodium radicans Burm. f.               เอกสารอ้างอิง
                                                                           Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                       เฟินอิงอาศัย แทงไหลยาวเลื้อยพันต้นไม้อื่น รากคล้ายเส้นลวด เหง้าสั้น   Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                    เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. มีเกล็ดสีน�้าตาลคล�้าหนาแน่น ยาวประมาณ 3 มม.   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Lomariopsidaceae. In Flora of Thailand
                                                                              Vol. 3(3): 320.
                    โคนกลมกว้าง แนบชิดเหง้า ปลายเรียวแคบ ใบประกอบชั้นเดียว ก้านใบยาว   Xing, F., W. Faguo and K. Iwatsuki. (2013). Dryopteridaceae (Bolbitis). In Flora
                    5-20 ซม. มีเกล็ดประปราย แผ่นใบรูปแถบ โ คบและปลายเรียวแคบ กว้าง 6-8 ซม.   of China Vol. 2-3: 713, 719.
                    ยาว 50-80 ซม. ใบย่อยมี 20-40 คู่ รูปเคียว กว้างประมาณ 1 ซม. ยาว 3-4 ซม.
                    โคนมนหรือตัด เป็นติ่งหูด้านเดียว ขอบจัก กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงชิดขอบใบ
                    ด้านละแถว มีเยื่อคลุม
                       พบที่อินเดีย พม่า ลาว กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี และหมู่เกาะ
                    นิวแคลิโดเนีย ในไทยพบทางภาคใต้ตอนล่างที่นราธิวาส ยะลา ขึ้นตามป่าดิบชื้น
                    ความสูงระดับต�่า ๆ และป่าพรุ

                       สกุล Nephrolepis Schott เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Oleandraceae หรือ Davalliaceae
                       มีประมาณ 30 ชนิด พบทั่วไปในเขตร้อน ในไทยมี 8 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                       “nephros” ไต และ “lepis” เกล็ด ตามลักษณะของเกล็ด
                      เอกสารอ้างอิง
                       Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                          Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                       Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Oleandraceae (Nephrolepis). In Flora of
                          Thailand 3(2): 170-178.                         กูดหางค่าง: เฟินขึ้นบนดิน ส่วนของล�าต้นเกาะตามต้นไม้หรือก้อนหิน ใบสร้างสปอร์เป็นใบประกอบ ใบย่อยมี 2-6 คู่
                                                                        กลุ่มอับสปอร์กระจายอยู่ทั่วแผ่นใบด้านล่าง (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK)

                                                                                                                      63






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   63                                                                  3/1/16   5:13 PM
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88