Page 79 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 79

กุหลาบพันปี
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    กุ๊ก                                                ก้านใบยาว 0.2-0.6 ซม. ช่อดอกมี 2-6 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 8 มม. กลีบเลี้ยง
                    Lannea coromandelica (Houtt.) Merr.                 แฉกลึก รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-7 ซม. ขอบมีขนครุย ดอกรูประฆัง สีแดงอมชมพู
                                                                        หรือแดงเข้ม มีจุดสีเข้มกระจาย ยาว 3.5-6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ เกสรเพศผู้ 10 อัน
                    วงศ์ Anacardiaceae                                  ยาวไม่เท่ากัน โคนมีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้ ผลรูปไข่ ยาว 0.5-1 ซม.
                      ชื่อพ้อง Dialium coromandelinum Houtt.
                                                                           พบที่จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า และลาว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. แยกเพศต่างต้น กิ่งแก่มีช่องอากาศ มีขนรูปดาวและ  ที่ภูเรือ ภูหลวง และภูกระดึง จังหวัดเลย ขึ้นตามชายป่าหรือริมล�าธารในป่าดิบเขา
                    ขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน และแผ่นใบด้านล่าง ใบประกอบเรียงเวียน ยาว 10-30 ซม.   และป่าสน ความสูง 1000-1300 เมตร แยกเป็น var. mesembrinum Rehder
                    ใบย่อยมี 3-7 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ปลายแหลมยาว   ดอกสีขาวหรือชมพู พบที่จีนตอนใต้ และพม่าตอนบน
                    โคนเบี้ยว ก้านใบย่อยยาว 1-5 มม. ใบปลายยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อ
                    เชิงลดแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งก่อนผลิใบ ช่อดอกเพศผู้ยาว 15-30 ซม. ช่อดอก  กุหลาบป่า
                    เพศเมียสั้นกว่า ใบประดับขนาดเล็ก ดอกสีเหลือง มักมีปื้นสีม่วงอมแดง กลีบเลี้ยง
                    และกลีบดอกอย่างละ 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1.5-2 มม.   Rhododendron moulmainense Hook.
                    ขอบมีขนครุย กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 2-2.5 มม. ปลายพับงอกลับ   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 5-17 ซม. แผ่นใบ
                    เกสรเพศผู้ 8 อัน อับเรณูติดด้านหลัง จานฐานดอกเป็นวง รังไข่เกลี้ยง มี 4 ช่อง   เกลี้ยง ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอกมี 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 1-2 ซม. เกลี้ยง
                    แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 4 อัน ผลแบบผนังชั้นในแข็ง รูปขอบขนาน   กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก จักตื้น ๆ ดอกรูปแตรแคบ ยาว 4-5.5 ซม. กลีบแฉกลึก สีขาว
                    ยาว 0.8-1 ซม. สุกสีม่วงอมแดง เมล็ดส่วนมากเจริญเพียงเมล็ดเดียว  มีปื้นสีเหลืองด้านใน เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเท่า ๆ กัน ยาว 3.5-4 ซม. โคนก้านชู
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และ  อับเรณูมีขนเป็นขุย รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 ซม. ผลเกลี้ยง
                    ชวา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และเขาหินปูน   รูปทรงกระบอก ปลายแหลมยาว ยาว 3.5-7 ซม.
                    ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร ส่วนต่าง ๆ ท�าให้ระคายเคือง มีสรรพคุณด้าน  พบที่อินเดีย จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู
                    สมุนไพรหลายอย่าง                                    ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ น่าน ภาคตะวันออกที่เขาใหญ่ จังหวัด
                       สกุล Lannea A. Rich. มีประมาณ 70 ชนิด ส่วนใหญ่พบในแอฟริกา ในไทยมี  ปราจีนบุรี และภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช ยะลา ขึ้นตามป่าดิบแล้งที่ชุ่มชื้น และ
                    เพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “lana” ขนคล้ายขนแกะ ตามลักษณะของ  ป่าดิบเขา ความสูง 700-1500 เมตร
                    กิ่งอ่อนหรือรากในพืชบางชนิด หรืออาจเป็นภาษาพื้นเมืองในแอฟริกา
                                                                        กุหลาบพันปี, สกุล
                      เอกสารอ้างอิง
                       Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 293-295.  Rhododendron L.
                       Min, T. and A. Barfod. (2008). Anacardiaceae. In Flora of China Vol. 11: 342.  วงศ์ Ericaceae
                                                                           ไม้พุ่มหรือไม้ต้น บางครั้งอิงอาศัย ใบเรียงเวียนหรือเรียงเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง
                                                                        ขอบเรียบ ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อเชิงหลั่นสั้น ออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง
                                                                        ใบประดับย่อยมีหนึ่งคู่ รูปไข่ กลีบเลี้ยง 5-8 กลีบ ติดทน ดอกรูปแตร รูประฆัง
                                                                        หรือเป็นหลอด มี 5–8 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมในตาดอก เกสรเพศผู้ส่วนมากมี
                                                                        5-10 อัน ยาวเท่า ๆ กันหรือไม่เท่ากัน ติดที่โคนกลีบดอก อับเรณูมีรูเปิดด้านบน
                                                                        จานฐานดอกหนา จักเป็นพู ส่วนมากมี 5-10 พู รังไข่ส่วนมากมี 5 ช่อง มักมีขน
                                                                        หรือเกล็ดรังแค ก้านเกสรเพศเมียติดทน ยอดเกสรเป็นตุ่มหรือรูปจาน จักมน
                                                                        ผลแห้งแตกตามรอยประสาน เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก รูปกระสวย มีปีกบาง ๆ
                                                                        ปลายทั้งสองด้านมีรยางค์ หรือขนรูปเส้นด้าย
                      กุ๊ก: ใบประกอบปลายคี่ ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ผลรูปไข่แกมรูปขอบขนาน สุกสีม่วงอมแดง (ภาพผลอ่อน:
                    เขาใหญ่ นครนายก - SSi; ผลแก่: อากาศอ�านวย สกลนคร - PK)  สกุล Rhododendron มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Ericaceae แยกเป็นหลายสกุลย่อย

                    กุหลาบขาว                                              ตามลักษณะช่อดอกออกตามปลายกิ่งหรือด้านข้าง มีเกล็ดหรือไม่มี การแตก
                                                                           ของใบและการผลัดใบ มีประมาณ 1000 ชนิด พบในเอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ
                    Rhododendron ciliicalyx Franch. subsp. lyi (H. Lév.) R. C. Fang  และออสเตรเลีย ในไทยมีประมาณ 10 ชนิดชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “rhodon”
                      ชื่อพ้อง Rhododendron ludwigianum Hosseus, R. lyi H. Lév.  กุหลาบ และ “dendron” ต้นไม้ หมายถึงต้นไม้ที่ดอกคล้ายกุหลาบ
                       ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. กิ่ง ใบ และผลอ่อนมีขนยาวหนาแน่น มีเกล็ดรังแคตามกิ่ง
                    แผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก กลีบเลี้ยง และผล ใบรูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน ยาว   กุหลาบพันปี
                    3-5 ซม. แผ่นใบค่อนข้างหนา ก้านใบยาว 2-7 มม. ช่อดอก มี 2-5 ดอก ก้านดอก  Rhododendron delavayi Franch.
                    ยาว 3-7 มม. มีขน กลีบเลี้ยงจักไม่ชัดเจน ขอบมีขนครุย ดอกรูปแตร สีขาวหรือ  ชื่อพ้อง Rhododendron arboreum Sm. subsp. delavayi (Franch.) Chamb.
                    อมชมพู ยาว 5-7 ซม. ปลายแฉกตื้น ๆ ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 10 อัน
                    ยาวเท่า ๆ กัน ประมาณหลอดกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย โคน  ไม้พุ่มหรือไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 30 ม. เปลือกแตกเป็นแผ่น มีเกล็ดขุยและขน
                    มีขนยาว อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. รังไข่มีเกล็ดรังแค ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่า  สีขาวเทาอมน�้าตาลเหลืองหนาแน่นตามแผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ก้านดอก และ
                    เกสรเพศผู้ ผลรูปทรงกระบอก ยาว 0.5-1 ซม.             รังไข่ ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 7-15.5 ซม. ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอก
                                                                        มี 10-20 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-2 มม.
                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือที่  มีต่อมกระจาย ดอกรูประฆัง สีแดง หลอดกลีบดอกยาว 1.5-3 ซม. กลีบรูปรีกว้าง ยาว
                    เชียงใหม่ น่าน พิษณุโลก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตามป่าสนเขา  1-2 ซม. ปลายกลีบเว้าตื้น มีต่อมน�้าต้อยเป็นแถบหรือจุดกระจาย เกสรเพศผู้ 10 อัน
                    หรือที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1600-2200 เมตร แยกเป็น subsp. ciliicalyx   ยาวไม่เท่ากัน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 2.8 ซม. ผลรูปทรงกระบอก ยาว
                    พบที่จีนตอนใต้ และเวียดนามตอนบน ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่ากลีบดอก  1.5-3 ซม.

                                                                           พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือเชียงใหม่ ขึ้นตาม
                    กุหลาบแดง                                           ป่าดิบเขา ความสูง 2200-2500 เมตร แยกเป็น var. peramoenum (Balf. f. &
                    Rhododendron simsii Planch.                         Forrest) T. L. Ming ใบเรียวแคบกว่า เกล็ดขุยและขนไม่หนาแน่น พบที่อินเดีย
                       ไม้พุ่ม สูง 1-5 ม. มีขนละเอียดหรือขนเอนสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง   และทางภาตตะวันตกของจีน ค�าระบุชนิดตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส
                    กลีบเลี้ยง รังไข่ และผล ใบรูปไข่ รูปไข่กลับ หรือรูปใบหอกกลับ ยาว 1.5-10 ซม.   Père Jean Marie Delavay (1834-1895)

                                                                                                                      59






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   59                                                                  3/1/16   5:12 PM
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84