Page 76 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 76
กำาเบ้อ ก�าเบ้อ สารานุกรมพืชในประเทศไทย กำาแพงเจ็ดชั้น
Gagnepainia godefroyi (Baill.) K. Schum. Salacia chinensis L.
ชื่อพ้อง Hemiorchis godefroyi Baill. วงศ์ Celastraceae
ไม้ล้มลุก ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 20-35 ซม. ชื่อพ้อง Salacia latifolia Wall.
ปลายแหลม มีติ่ง แผ่นใบเกลี้ยง ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกยาว 30-40 ซม. ไม้เถาเนื้อแข็งหรือไม้พุ่มรอเลื้อย สูงได้ถึง 4 ม. ใบเรียงตรงข้ามหรือเกือบตรงข้าม
มีขนสั้นนุ่ม ดอกสีขาวหรืออมม่วง กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.5 ซม. หลอดกลีบดอก รูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ ยาว 4-17 ซม. ขอบใบเรียบหรือจักมน ก้านใบยาว
ยาว 1.8-2 ซม. กลีบหลังยาวประมาณ 1 ซม. กลีบคู่ข้างสั้นกว่าเล็กน้อย แผ่น 1-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนงสั้น ๆ มี 3-6 ดอกในแต่ละช่อ
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันยาวเท่า ๆ กลีบข้าง ขอบมีสีเหลืองแต้ม กลีบปากกลีบกลาง ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมปลายมนกลม ยาวประมาณ
ยาวประมาณ 4 มม. กลีบด้านข้างรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 3 มม. มีรยางค์สั้น ๆ 1 มม. ขอบจักชายครุย ดอกสีเขียวอมเหลือง มี 5 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่กว้าง ยาว
4 อัน อับเรณูยาวประมาณ 4 มม. ผลรูปไข่ ยาว 2-3 ซม. 3-4 มม. ปลายกลม จานฐานดอกรูปเบาะหนา เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 มม.
พบในภูมิภาคอินโดจีน และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขอบมีปุ่มเล็ก ๆ เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนขอบจานฐานดอก ก้านชูอับเรณูสั้น
และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณที่เป็นหินปูน ความสูงถึงประมาณ อับเรณูเปิดตามขวาง รังไข่มี 3 ช่อง จมอยู่ในจานฐานดอก ก้านเกสรเพศเมียสั้น
500 เมตร ผลสดรูปกลม ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 ซม. สุกสีแดง มีเมล็ดเดียว
พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
กำาเบ้อ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ขึ้นหลากหลายสภาพป่า โดยเฉพาะป่าโปร่งที่
Gagnepainia harmandii (Baill.) K. Schum. แห้งแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1550 เมตร รากและเนื้อไม้มีสรรพคุณฟอกโลหิต
ชื่อพ้อง Hemiorchis thoreliana Baill., Gagnepainia thoreliana (Baill.) K. Schum. แก้ปวดตามข้อ แก้ประดง แก้พิษโลหิต ท�าให้สดชื่น
ไม้ล้มลุก ใบรูปขอบขนานยาว 10-30 ซม. ก้านยาวได้ถึง 13 ซม. แผ่นใบมีขน สกุล Salacia L. มี 150-200 ชนิด พบในเขตร้อน ในไทยมี 11 ชนิด ชื่อสกุลตั้ง
สั้นนุ่มทั้งสองด้าน ด้านบนมีเส้นสีขาวแซม ช่อดอกยาว 15-40 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ตามเทพเจ้าน้ำาใต้ดินหรือน้ำาพุของชาวโรมัน Salacia หลายชนิดมีสรรพคุณด้าน
ดอกสีเขียว กลีบเลี้ยงยาว 1-1.8 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบดอก สมุนไพร
ยาวเท่า ๆ กัน ยาว 6-9 มม. หรือกลีบข้างสั้นกว่าเล็กน้อย แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
ยาวเท่า ๆ กลีบดอก กลีบปากกลีบกลางคล้ายรูปกระบอง ยาว 2-3 มม. กลีบด้านข้าง เอกสารอ้างอิง
กว้างและยาวกว่าเล็กน้อย มีรยางค์ 2 อัน อับเรณูยาวประมาณ 4 มม. ผลรูปไข่ Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of
Thailand Vol. 10(2): 189-190.
ยาว 2-3.5 ซม. Peng, H. and M. Funston. (2008). Celastraceae (Salacia). In Flora of China Vol.
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 11: 487-489.
ภาคตะวันออก ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้งผสมเต็งรัง
และป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Picheansoonthon, C. and S. Tiyaworanant. (2010). The genus Gagnepainia
K. Schum. (Zingiberaceae) in Thailand. Journal of the Royal Institute of
Thailand 2: 91-99.
ก�าแพงเจ็ดชั้น: ไม้เถาเนื้อแข็ง เนื้อไม้เป็นชั้น ๆ ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนงสั้น ๆ
ดอกสีเขียวอมเหลือง จานฐานดอกรูปเบาะหนา เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดบนขอบจานฐานดอก ผลสุกสีแดง (ภาพดอกและผล:
ภูเวียง ขอนแก่น - PT; ภาพเนื้อไม้: กรุงเทพฯ - RP)
ก�าเบ้อ: G. godefroyi แผ่นใบเกลี้ยง ช่อดอกออกจากเหง้าแบบช่อเชิงลด ดอกออกเดี่ยว ๆ บนแกนช่อ สีขาวหรือ
อมม่วง ก้านเกสรเพศผู้ 1 อัน ยาวกว่ากลีบปาก โค้งงอ (ภาพ: อุ้มผาง ตาก - JM)
กำายานเครือ, สกุล
Byttneria Loefl.
วงศ์ Malvaceae
ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเลื้อย หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน เรียบ หรือจักเป็นพู
เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ไม่มีริ้วประดับ
กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึก กลีบดอก 5 กลีบ แยกจรดโคน รูปคุ่ม ก้านกลีบโค้งงอ
เส้าเกสรเป็นหลอดบาง ๆ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มี 5 อัน ติดตรงข้ามกลีบดอก
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน เป็นแผ่นบาง ๆ ติดตรงข้ามกลีบเลี้ยง อับเรณูหันออก
รังไข่มี 5 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียเชื่อมติดกัน ปลายแยกเป็น
5 แฉก บางครั้งไม่ชัดเจน ผลแห้งแตกตามรอยประสานเป็น 5 ส่วน มีขนยาว
หรือขนคล้ายหนาม แต่ละซีกมีเมล็ดเดียว
สกุล Byttneria เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae หรือ Byttneriaceae ปัจจุบัน
อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Byttnerioideae มี 135 ชนิด พบในอเมริกาใต้ แอฟริกา
ก�าเบ้อ: G. harmandii แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ด้านบนมีเส้นสีขาวแซม ดอกสีเขียว ผลมีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง
ติดทน (ภาพ: จันทบุรี - JM) มาดากัสการ์ และเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 4 ชนิด
56
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 56 3/1/16 5:11 PM