Page 73 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 73
ก้าว
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
กายอม มีถิ่นก�าเนิดในอินเดียและศรีลังกา เป็นไม้ประดับท�าเป็นซุ้มทั่วไปในเขตร้อน
Rhododendron veitchianum Hook. ดอกมีกลิ่นหอม ใช้ท�าน�้าหอมและใส่ในใบชา ผลมีสรรพคุณรักษาโรคผิวหนัง
วงศ์ Ericaceae ลักษณะทั่วไปคล้ายกับ A. siamensis Miq. ที่ดอกขนาดเล็กกว่าและมีขนหนา
แน่นกว่า
ไม้พุ่มขึ้นบนดินหรืออิงอาศัย สูง 1-3 ม. กิ่งอ่อนมีขนแข็งกระจาย มีเกล็ดรังแค
ตามก้านใบ ก้านดอก รังไข่ และผล ใบเรียงเวียน รูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน เอกสารอ้างอิง
ปิยะ เฉลิมกลิ่น. (2545). พรรณไม้วงกระดังงา. สำานักพิมพ์บ้านและสวน กรุงเทพฯ.
ยาว 6-10 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีเกล็ดสีน�้าตาลทองหนาแน่น ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. Li, B. and M.G. Gilbert. (2011). Annonaceae. In Flora of China Vol. 19: 701, 703.
ช่อดอกมี 1-5 ดอก ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงจักตื้น ๆ ไม่ชัดเจน ขอบมีขนครุย
ดอกรูปล�าโพงสีขาว มีปื้นสีเหลืองที่โคนด้านใน ยาว 5-6.5 ซม. หลอดกลีบดอก
ยาว 2-4 ซม. ขอบกลีบจักมนไม่เป็นระเบียบ เกสรเพศผู้ 10 อัน สั้นกว่ากลีบดอก
เล็กน้อย โคนก้านชูอับเรณูมีขน ผลทรงกระบอก ยาวประมาณ 3 ซม. (ดูข้อมูล
เพิ่มเติมที่ กุหลาบพันปี, สกุล)
พบที่พม่า ลาว เวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือที่ดอยอินทนนท์ ดอยสุเทพ
และดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งหรือคาคบไม้ในป่าดิบเขา ความ
สูง 1300-2500 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Cullen, J. (1980). A revision of Rhododendron 1. subgenus Rhododendron
section Rhododendron & Pogonathum. Notes from the Royal Botanic
Garden Edinburgh 39(1): 55.
การเวก: ล�าต้นมีช่องอากาศ มีหนามยาว กลีบเลี้ยงพับงอกลับ กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง ยาวเท่าๆ กัน ผลย่อย
รูปรีเกือบกลม มีก้านผลสั้นๆ ปลายผลเป็นติ่งแหลม (ภาพ: cultivated - PK)
ก้าว, สกุล
Tristaniopsis Brongn. & Griseb.
วงศ์ Myrtaceae
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน เส้นแขนงใบ
กายอม: ดอกรูปล�าโพง กลีบจักมนไม่เป็นระเบียบ มีปื้นสีเหลืองด้านใน เกสรเพศผู้ 10 อัน สั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย มีเส้นแขนงใบย่อยแซม เส้นขอบใน 1 เส้น แผ่นใบส่วนมากมีต่อม ช่อดอกแบบ
(ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP) ช่อกระจุก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว
ฐานดอกรูปถ้วย กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด ติดทน กลีบดอกแยกกัน เกสรเพศผู้
การเวก, สกุล จ�านวนมาก ยาวไม่เท่ากัน เชื่อมติดกันเป็นมัด ส่วนมากมี 5 มัด ติดตรงข้าม
Artabotrys R. Br. กลีบดอก อับเรณูปลายมีรยางค์เป็นต่อม รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมีย 1 อัน
วงศ์ Annonaceae ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก เมล็ดขนาดเล็ก แบน มีปีกย่น
ไม้เถา ใบเรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ มี 1 หรือหลายดอก สกุล Tristaniopsis มีประมาณ 40 ชนิด พบในพม่า ภูมิภาคอินโดจีน ภูมิภาค
ส่วนมากออกตรงข้ามใบ ก้านดอกติดทน โค้งงอรูปตะขอ ฐานดอก (torus) แบน มาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 2 ชนิด ชื่อสกุลหมายถึงสกุลที่คล้ายกับ
หรือเว้า กลีบเลี้ยง 3 กลีบ เรียงจรดกัน เชื่อมติดกันที่โคน กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง สกุล Tristania
ยาวเท่า ๆ กัน กลีบเรียงจรดกัน โคนเว้า เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แกนอับเรณูช่วง
ปลายกว้าง ตัด คาร์เพลจ�านวนมาก มีออวุล 2 เม็ด ติดที่โคน เกสรเพศเมียรูปไข่ ก้าว
หรือคล้ายกระบอง ผลย่อยคล้ายผลสดออกเป็นกระจุกแยกกัน ไร้ก้านหรือมี
ก้านสั้น ๆ แต่ละผลย่อยมี 1-2 เมล็ด Tristaniopsis burmanica (Griff.) Peter G. Wilson & J. T. Waterh. var.
rufescens (Hance) J. Parn. & NicLugh.
สกุล Artabotrys อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Annonoideae มีประมาณ 100 ชนิด พบใน ชื่อพ้อง Tristania burmanica Griff. var. rufescens (Hance) Gagnep.
แอฟริกาและเอเชียเขตร้อนหรือกึ่งเขตร้อน ในไทยอาจมีมากกว่า 20 ชนิด ชื่อ ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงไม่เกิน 10 ม. เปลือกแตกเป็นแผ่น ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว
สกุลมาจากภาษากรีก “artane” หรือ “artao” ตะขอ และ “botrys” เป็นกระจุก 3-10 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 10-20 เส้น เส้นขอบในห่างจากขอบใบไม่เกิน 1 มม.
ตามลักษณะของก้านช่อดอกที่โค้งงอคล้ายตะขอ
แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนย่นสีน�้าตาลแดง ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ก้านใบอ่อน
มีขนคล้ายไหม ก้านดอกยาว 2-4 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. กลีบยาว
การเวก ประมาณ 1 มม. มีขน ดอกสีขาวหรืออมเหลือง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 มม.
Artabotrys hexapetalus (L. f.) Bhandari เกสรเพศผู้ 5 มัด มัดละ 4-9 อัน เชื่อมติดกันที่โคน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ
ชื่อพ้อง Annona hexapetala L. f. 2.5 มม. มีขนประปราย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ผลยาวประมาณ
ไม้เถาเนื้อแข็ง ยาวได้ถึง 10 ม. ล�าต้นมีช่องอากาศ มักมีหนามยาว 2-4 ซม. 5 มม. เมล็ดยาวประมาณ 4 มม.
กิ่งเกลี้ยงหรือมีขนประปราย ใบเรียงเวียน รูปขอบขนาน ยาว 6-25 ซม. แผ่นใบ พบที่พม่า ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบกระจายห่าง ๆ แทบทุกภาค
ด้านล่างมีขนละเอียดตามเส้นกลางใบ ช่อดอกมี 1-2 ดอก ก้านช่อยาวเท่า ๆ ก้านดอก ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเต็งรังผสมสนเขา และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ
หรือสั้นกว่าเล็กน้อย ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 5-8 มม. พับงอกลับ 1300 เมตร ส่วน var. burmanica แผ่นใบไม่มีขนสีน�้าตาลแดง พบที่พม่า กัมพูชา
ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบดอกรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กลีบชั้นในขนาด เวียดนาม และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ของไทย
เล็กกว่าเล็กน้อย ยาว 3-4.5 ซม. โคนกลีบด้านนอกมีขนละเอียด คอด เกสรเพศผู้
วงด้านนอกส่วนมากเป็นหมัน รยางค์มี 3 สัน ผลย่อยมี 7-15 ผล รูปรีกว้าง เอกสารอ้างอิง
ยาว 2.5-4 ซม. ก้านสั้นหรือไร้ก้าน ปลายมีติ่งแหลม เมล็ดยาว 1.5-2 ซม. Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.
7(4): 912-914.
53
59-02-089_001-112 Ency_new5-3 i_Coated.indd 53 3/5/16 4:51 PM