Page 74 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 74

กาหยีเขา
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                       มีถิ่นก�าเนิดในภูมิภาคมาเลเซียแถบเกาะชวา บอร์เนียว ฟิลิปปินส์ และหมู่เกาะ
                                                                     ซุนดาน้อย เป็นไม้ประดับทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บางครั้งพบกระจายใน
                                                                     ธรรมชาติตามป่าเบญจพรรณที่แห้งแล้ง

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                                                                          In Flora of Thailand Vol. 4(1): 11-13.









                  ก้าว: ใบเรียงเวียน แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบมีเส้นแขนงใบย่อยแซม เส้นขอบใน 1 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                ออกตามซอกใบ (ภาพ: ตาก - RP)
                กาหยีเขา
                                                                      กาหลง: ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน ฝักแบน รูปแถบ ขอบเป็นสัน (ภาพ: cultivated;
                Dialium indum L.                                     ภาพดอก - RP; ภาพผล - PK)
                วงศ์ Fabaceae                                        กาหลอ
                   ไม้ต้น สูง 20-25 ม. มีขนละเอียดตามแกนใบประกอบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง   Etlingera corneri Mood & Ibrahim
                และผล ใบประกอบปลายคี่ เรียงเวียน แกนกลางยาว 10-20 ซม. ใบย่อยมี 2-4 คู่
                รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือแกมรูปใบหอก ยาว 7-10 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ   ไม้ล้มลุก สูง 3-4 ม. ล�าต้นมีขนสั้นนุ่ม ใบมีข้างละ 10-11 ใบ รูปขอบขนาน
                8-10 เส้น เรียงจรดกันใกล้ขอบใบ ก้านใบย่อยยาว 4-5 มม. ช่อดอกแบบช่อ  ถึงรูปรี ยาว 15-65 ซม. แผ่นใบด้านล่างสีเขียวหรือม่วงแดง ก้านใบยาว 1-4 ซม.
                แยกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ก้านดอกยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม   ฐานดอกสูง 1-1.5 ซม. วงใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อมแน่นรูปถ้วย สูง 7-9 ซม.
                รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 5-6 มม. ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้ 2 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น   เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7.5 ซม. ก้านช่อดอกตั้งตรง ยาวได้ถึง 90 ซม. ใบประดับ
                อับเรณูยาว 4-5 มม. รังไข่มีขนยาวคล้ายไหม ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสร  สีแดง รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ปลายพับงอ วงนอกยาว 6.5-8.5 ซม. วงใน
                แบน ผลรูปกลม ๆ แห้งไม่แตก ยาว 2-3 ซม. สุกสีด�า ผิวคล้ายก�ามะหยี่ เนื้อในยุ่ย  ยาว 3.5-7.5 ซม. ใบประดับย่อยยาวประมาณ 3.5 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวได้ถึง
                เป็นปุย มีเมล็ดเดียว รูปรี เป็นเหลี่ยม ยาว 1-1.5 ซม. มีริ้วตามยาว  4 ซม. หลอดกลีบดอกยาว 2-2.5 ซม. กลีบปากตั้งตรง ยาว 1.6-2.5 ซม. สีแดง
                                                                     ขอบสีขาวม้วนออก ช่อผลเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ซม. ผลย่อยรูปไข่ สีขาว
                   พบที่คาบสมุทรมลายู ชวา และทางภาคใต้ของไทยตั้งแต่ระนองลงไป ขึ้นตาม  เปลี่ยนเป็นสีส้มแดง เกลี้ยง ยาว 3.5-4 ซม.
                ป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ
                                                                       พบทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทย ที่สงขลา
                   สกุล Dialium L. อยู่ภายใต้กลุ่ม Dialieae มี 28 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุล  สตูล ยะลา และนราธิวาส ขึ้นตามที่ชื้นแฉะในป่าดิบชื้น ความสูง 200-500 เมตร
                   อาจมาจากภาษากรีก “dialyo” หรือ “dialeyin” ไม่มี หมายถึงไม่มีกลีบดอก
                                                                     กาหลา, สกุล
                  เอกสารอ้างอิง
                   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.   Etlingera Giseke
                      In Flora of Thailand Vol. 4(1): 87-88.         วงศ์ Zingiberaceae
                                                                       ไม้ล้มลุก เหง้าทอดเลื้อย ล�าต้นเทียมตั้งตรง ลิ้นกาบเรียบหรือจัก 2 พู ใบเรียงสลับ
                                                                     ระนาบเดียว ช่อแบบช่อเชิงลดหรือช่อกระจุกแน่น ออกจากเหง้า ก้านช่อโผล่พ้น
                                                                     พื้นดิน ตั้งตรง หรืออยู่ใต้ดิน ดอกเรียงเป็นวงรูปถ้วยบนฐานดอก วงใบประดับ
                                                                     จ�านวนมาก วงนอกไม่มีดอก แต่ละใบประดับมีดอกเดียว ใบประดับย่อยเป็นหลอด
                                                                     กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด แยกด้านเดียว ปลายจัก 3 แฉก ติดทน กลีบดอก
                                                                     เชื่อมติดกันเป็นหลอด ยาวเท่า ๆ หรือยาวกว่ากลีบดอก กลีบดอก 3 กลีบ สั้นกว่า
                                                                     หลอดกลีบ ไม่มีแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน กลีบปากรูปลิ้น ปลายแยก 3 แฉก
                                                                     ยาวกว่ากลีบดอก กลีบกลางบางครั้งจัก 2 พู โคนกลีบข้างหุ้มเกสรเพศผู้ เชื่อมติด
                                                                     ก้านเกสรเพศผู้ อับเรณูบิดงอ แกนอับเรณูไม่มีรยางค์ รังไข่มี 3 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก
                  กาหยีเขา: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ผลสุกสีด�า ผิวคล้ายก�ามะหยี่ (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MP)  ผลสด มีสันตามยาว
                กาหลง                                                  สกุล Etlingera อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Alpinioideae มีประมาณ 110 ชนิด พบใน
                Bauhinia acuminata L.                                  เอเชียโดยเฉพาะภูมิภาคมาเลเซีย และทางตอนบนของออสเตรเลีย ในไทยมี
                วงศ์ Fabaceae                                          ประมาณ 15 ชนิด ชื่อสกุล ตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Andreas Ernst
                                                                       Etlinger (1730-1790)
                   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. หูใบรูปแถบ ยาวประมาณ 1 ซม. ใบรูปไข่กว้าง ยาวได้ถึง
                14 ซม. แฉกลึกถึงประมาณกึ่งหนึ่ง โคนรูปหัวใจ เส้นโคนข้างละ 4-5 เส้น แผ่นใบ  กาหลา
                ด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาว 3-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ มี 3-10 ดอก
                ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม. ใบประดับติดใต้กึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปกระสวย  Etlingera elatior (Jack) R. M. Sm.
                ยาวได้ถึง 4 ซม. ปลายแยก 5 แฉกเล็ก ๆ ฐานดอกยาวประมาณ 5 มม. มีริ้ว   ชื่อพ้อง Alpinia elatior Jack
                กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 ซม. ดอกสีขาว กลีบรูปขอบขนาน ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้   ไม้ล้มลุก สูง 3-6 ม. ใบมีได้ถึงข้างละ 17 ใบ รูปใบหอก ยาวได้ถึง 85 ซม.
                10 อัน ยาวไม่เท่ากัน ก้านชูอับเรณูยาว 1.5-2.5 ซม. โคนมีขน อับเรณูยาว 4-5 มม.   ก้านใบยาว 3-4 ซม. ก้านดอกยาว 0.8-2 ม. ฐานดอกยาว 4-9 ซม. วงใบประดับ
                ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม. ฝักแบน รูปแถบ ยาวประมาณ 10 ซม.   สีชมพู หรือขาว เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน รูปรี วงนอกยาว 5.5-10 ซม. วงในยาว
                ขอบเป็นสัน มี 5-11 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)  4-7.5 ซม. ใบประดับย่อยยาว 2-2.5 ซม. แฉกลึกด้านเดียว หลอดกลีบเลี้ยงยาว

                54






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   54                                                                  3/1/16   5:11 PM
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79