Page 69 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 69
สกุล Pisonia L. มีประมาณ 40 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาเขตร้อน ในไทยเป็น กาฝากชมพู สารานุกรมพืชในประเทศไทย กาฝากมะม่วง
พืชพื้นเมือง 2 ชนิด อีกชนิดคือ คัดเค้าหมู P. aculeta L. เป็นไม้พุ่มหรือไม้เถามีหนาม Dendrophthoe incarnata (Jack) Miq.
ผลสั้นกว่า พบทุกภาค และเป็นไม้ประดับ 1 ชนิด คือ แสงจันทร์ P. grandis R. Br.
ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวดัตซ์ Willem Piso (1611-1678) ชื่อพ้อง Loranthus incarnatus Jack
กาฝากพุ่ม มีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ช่อดอก ดอก ก้านชูอับเรณู
เอกสารอ้างอิง และรังไข่ ใบเรียงห่าง ๆ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลม
Larsen, K. (1991). Nyctaginaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 366-374.
Lu, D. and M.G. Gilbert. (2003). Nyctaginaceae. In Flora of China Vol. 5: 430-431. หรือมน โคนรูปลิ่มหรือเว้าตื้น เส้นใบชัดเจน ก้านใบยาว 0.7-3 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจะ ดอกเรียงแน่น แกนช่อยาว 5-8.5 ซม. ก้านดอกสั้น ดอกสีชมพูหรือ
อมแดง ปลายสีเขียว ดอกตูมเรียวแคบ หลอดกลีบดอกยาว 4-8.5 ซม. กลีบดอก
5 กลีบ ยาว 3-8 มม. พับงอกลับ ก้านชูอับเรณูที่ไม่แนบติดหลอดกลีบดอก ยาวเท่า ๆ
หรือสั้นกว่าอับเรณู อับเรณูยาว 3-7 มม. ผลรูปไข่ มีขนสั้นนุ่มหนาแน่น
พบที่คาบสมุทรมลายูและสุมาตรา ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และภาคใต้ เบียนต้นไม้หลายชนิดในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น
ส่วนมากพบที่ความสูงไม่เกิน 200 เมตร
กาฝากมะม่วง, สกุล
Dendrophthoe Mart.
วงศ์ Loranthaceae
กาฝากพุ่ม มีปุ่มปม ใบเรียงเวียนหรือเรียงตรงข้าม แผ่นใบหนา ช่อดอกแบบ
ช่อกระจะไม่แยกแขนง หรือช่อเชิงลด ออกตามซอกใบหรือตามข้อ ใบประดับย่อย
กาบกล้วย: ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม แยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ผลเป็นแท่งเรียว มี 5 สัน (ภาพซ้าย
บนและภาพขวา: ธารโต ยะลา - RP); คัดเค้าหมู: มีหนาม ผลสั้นกว่า (ภาพซ้ายล่าง: ไทยประจัน ราชบุรี - SSi) มีใบเดียว กลีบเลี้ยงเป็นแผ่นบาง ๆ ติดเหนือรังไข่คล้ายหลอดกลีบเลี้ยง รูปไข่
หรือรูปคนโท ติดทน กลีบดอก 4 หรือ 5 กลีบ เชื่อมติดกันเกินกึ่งหนึ่ง เกสรเพศผู้
กาฝากขน มี 4 หรือ 5 อัน ติดตรงข้ามเหนือกลีบดอก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดหลอดกลีบดอก
Scurrula ferruginea (Jack) Danser รังไข่ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมีย 1 อัน มี 5 เหลี่ยม ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลสดมี
วงศ์ Loranthaceae เมล็ดเดียว ไร้ก้าน
ชื่อพ้อง Loranthus ferrugineus Jack สกุล Dendrophthoe มีประมาณ 40 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย
กาฝากพุ่ม มีขนกระจุกรูปดาวและขนแยกแขนงหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ช่อดอก ในไทยมี 6 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dendron” ต้นไม้ และ “phthio”
และดอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 3-10 ซม. ปลายมนหรือกลม ทำาลาย หมายถึงเป็นกาฝากที่มักทำาลายพืชที่ให้อาศัย
โคนรูปลิ่มหรือเว้าตื้น ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามข้อสั้น ๆ คล้ายช่อซี่ร่ม มี
2-5 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-4 มม. ใบประดับเรียวแคบ ยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยง กาฝากมะม่วง
เป็นแผ่นบาง ๆ ติดเหนือรังไข่คล้ายเป็นหลอดรูปลูกข่าง หลอดกลีบดอกยาว
0.5-1.5 ซม. กลีบแฉกลึกด้านเดียวมากกว่าหรือประมาณกึ่งหนึ่ง ปลายแยก 4 กลีบ Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.
รูปขอบขนาน ยาว 4-5 มม. ด้านในเกลี้ยง เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดตรงข้ามเหนือ ชื่อพ้อง Loranthus pentandrus L.
กลีบดอก ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดหลอดกลีบดอก ช่วงที่แยกยาวเท่า ๆ อับเรณู อับเรณู กาฝากพุ่ม มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และดอก ใบเรียงห่าง ๆ รูปรีหรือ
ยาวประมาณ 1 มม. รังไข่ใต้วงกลีบ ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลสดมีเมล็ดเดียว รูปคล้าย รูปขอบขนาน ยาว 6-14 ซม. ปลายส่วนมากกลม โคนรูปลิ่ม เส้นใบชัดเจน ก้านใบ
กระบอง ปลายกลม ยาว 0.8-1 ซม. รวมก้านยาว 4-6 มม. ยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามข้อ มี 6-12 ดอก แกนช่อยาว
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ลาว เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ (ปาละวัน) 1-3.5 ซม. ก้านดอกยาว 1-4 มม. ดอกสีเขียวหรืออมเหลือง ดอกตูมมี 5 สัน คอหลอด
ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร เว้า มักมีสีเข้ม หลอดกลีบยาว 6-1.2 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ ยาว 4-8 มม. พับงอกลับ
ก้านชูอับเรณูที่ไม่แนบติดหลอดกลีบดอกยาวเท่า ๆ หรือยาวกว่าอับเรณูเล็กน้อย
สกุล Scurrula L. คล้ายกับสกุล Taxillus แต่ผลส่วนมากรูปไข่ โคนไม่เรียวแคบ มีขนกระจุกรูปดาวประปราย อับเรณูยาว 2-5 มม. ผลรูปไข่หรือรูปคนโท ยาว
และไม่มีก้าน มี 20-40 ชนิด ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน หมายถึง 0.8-1 ซม. สุกสีส้ม
ตัวตลกจิ๋ว ตามลักษณะของผล
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ ขึ้นเบียน
เอกสารอ้างอิง พืชหลายชนิดโดยเฉพาะไม้ผล ในธรรมชาติพบความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร
Barlow, B.A. (2002). Loranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 695-702. แต่ส่วนมากพบระดับต�่า ๆ ทั้งต้นมีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระ แต่อาจมีผลต่อหัวใจ
Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2003). Loranthaceae. In Flora of China Vol. 5: 227, 231.
เอกสารอ้างอิง
Barlow, B.A. (2002). Loranthaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 670-676.
Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2003). Loranthaceae. In Flora of China Vol. 5: 227.
กาฝากชมพู: ช่อดอกแบบช่อกระจะออกตามข้อ ดอกเรียงแน่น สีชมพู มี 5 กลีบ พับงอกลับ ผลรูปไข่ มีขนหนาแน่น
(ภาพ: กาญจนบุรี - PK)
กาฝากขน: ช่อดอกมีขนหนาแน่น หลอดกลีบดอกแฉกลึกด้านเดียว (ภาพ: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP)
49
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 49 3/1/16 5:10 PM