Page 66 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 66
กัลปพฤกษ์
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
กากหมากตาฤาษี, สกุล
Balanophora J. R. Forst. & G. Forst.
วงศ์ Balanophoraceae
ไม้ล้มลุกกินซาก เบียนราก ไม่มีคลอโรฟิลล์ ไม่มีระบบราก ส่วนหัวติดกับราก
พืชที่ให้อาศัย แยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้น ใบคล้ายเกล็ด เรียงเวียน เรียงตรงข้าม
สลับตั้งฉาก หรือเรียงสลับระนาบเดียว ช่อดอกออกที่ปลายล�าต้น รูปรี รูปไข่กลับ กลม
หรือคล้ายรูปกระบอง ใบประดับคล้ายกาบ ช่อดอกเพศผู้คล้ายช่อเชิงลดหรือ
ช่อกระจะ ช่อดอกเพศเมียคล้ายช่อเชิงลด ดอกเพศผู้กลีบรวมส่วนมากมี 3-6 กลีบ
ใบประดับย่อยปลายตัด เกสรเพศผู้ 3-5 อัน เชื่อมติดกัน ดอกเพศเมียจ�านวนมาก
ไม่มีกลีบรวม รังไข่มีช่องเดียว ติดบนแกนช่อดอก ก้านเกสรเพศเมีย 1 อัน ติดทน
ผลแห้งไม่แตก ขนาดเล็ก
สกุล Balanophora มีประมาณ 15 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตร้อน ในไทยมี 5-6 ชนิด
กันภัยมหิดล: ใบประกอบ ใบย่อยเรียงตรงข้าม ปลายมีติ่งแหลม หูใบรูปเคียว กลีบดอกกลีบกลางด้านในมีสีเข้ม มีสี
เหลืองแต้มใกล้โคน (ภาพ: cultivated - RP) ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “balanos” กาบรูปถ้วย และ “phoros” เกิด ตามลักษณะ
ช่อผลที่มีใบประดับคล้ายกาบรูปถ้วย
กัลปพฤกษ์
Cassia bakeriana Craib กากหมากตาฤาษี
วงศ์ Fabaceae Balanophora fungosa J. R. Forst. & G. Forst.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนกิ่งตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ใบประดับ กลีบเลี้ยง และฝัก ไม้ล้มลุกกินซาก แยกเพศต่างต้น หัวใต้ดินออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง
ใบประกอบยาว 15-40 ซม. มีใบย่อย 5-8 คู่ ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ จ�านวนมาก กลม ๆ ผิวมีตุ่มรูปดาวกระจาย ใบเรียงเวียน เรียงซ้อนเหลื่อม 10-20 ใบ
ปลายกลมมีติ่งแหลม โคนกลม ก้านใบยาวประมาณ 2 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ช่อดอกเพศผู้รูปรีกว้าง ยาวได้ถึง 12 ซม. ใบประดับคล้ายกาบรูปรีกว้าง ปลายตัด
ยาว 5-12 ซม. ออกตามซอกใบที่หลุดร่วง ใบประดับและใบประดับย่อยสีแดง ยาวประมาณ 5 มม. ก้านดอกย่อยยาว 0.7-1 ซม. กลีบรวมมี 4-5 กลีบ รูปรีแกม
อมน�้าตาล กลีบเลี้ยงรูปใบหอกยาว 0.9-1.2 ซม. ดอกสีขาวอมชมพู กลีบรูปใบหอก รูปใบหอก ยาว 3-7 มม. เกสรเพศผู้ 4-5 อัน คล้ายรูปเกือกม้า ช่อดอกเพศเมีย
แกมรูปไข่ ยาว 3.5-4.5 ซม. เกสรเพศผู้อันยาว 3 อัน โค้งงอ ก้านชูอับเรณูยาว รูปรีหรือรูปไข่กลับ มักมีขนาดเล็กกว่าช่อดอกเพศผู้ ยาวได้ถึง 6 ซม.
3.5-5 ซม. ป่องกลาง อันสั้น 4 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณกึ่งหนึ่งของอันยาว
แต่อับเรณูยาวกว่าประมาณ 2 เท่า 3 อันลดรูป ยาว 1-1.5 ซม. อับเรณูขนาดเล็ก พบที่อินเดีย ไห่หนาน ไต้หวัน ญี่ปุ่น ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
รังไข่ยาวประมาณ 4 ซม. ก้านยาว 1-1.5 ซม. ฝักยาว 30-40 ซม. มี 30-40 เมล็ด นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร มีความ
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมทีี่ ราชพฤกษ์, สกุล) ผันแปรสูง บางครั้งแยกเป็น 2 ชนิดย่อยตามลักษณะหัวใต้ดินและช่อดอก ยางเหนียว
จากหัวใต้ดินใช้ท�ากับดักนก ใช้เป็นคบไฟ
พบที่พม่า ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 300-1000 เมตร เป็นไม้ประดับ เอกสารอ้างอิง
ดอกมีขนาดใหญ่ที่สุดในสกุล Cassia ของไทย Hansen, B. (1972). Balanophoraceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 177-181.
Perry, L.M. (1980). Medicinal plants of East and Southeast Asia. Massachusetts
Institute of Technology.
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1972). Leguminosae-Caesalpinioideae.
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 105.
กัลปพฤกษ์: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามกิ่งข้าง ๆ กลีบดอกมีก้าน เกสรเพศผู้ 3 อัน โค้งงอ ป่องกลาง อันสั้น กากหมาก: ช่อดอกเพศผู้คล้ายช่อเชิงลด ใบประดับรูปไข่กว้าง (ภาพซ้าย ช่อดอกเพศผู้: เชียงใหม่, ภาพขวา
4 อัน แต่อับเรณูยาวกว่าอันยาว (ภาพ: cultivated - SSi) ช่อดอกเพศเมีย: น�้าหนาว เพชรบูรณ์; - SSi)
กากหมาก
Balanophora latisepala (Tiegh.) Lecomte
ชื่อพ้อง Balaniella latisepala Tiegh.
ไม้ล้มลุกกินซาก แยกเพศต่างต้น สูง 10-25 ซม. เหง้าแตกแขนง ผิวมีตุ่ม
รูปดาวทั่วไป ใบเรียงสลับระนาบเดียวห่าง ๆ 3-6 ใบ ช่อดอกเพศผู้เรียวแคบ
ยาว 5-9 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม. ใบประดับรูปไข่กว้าง กว้างประมาณ
5 มม. บางครั้งคล้ายแยก 2 แฉก ก้านดอกยาว 1.5-6 มม. กลีบรวมส่วนมากมี
4-5 กลีบ รูปไข่ ขนาดไม่เท่ากัน เรียง 2 แถว พับงอกลับ กลีบข้างยาว 3-3.5 มม.
กลีบกลางกว้างยาว 3-4 มม. อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกเพศเมียคล้าย
รูปทรงกระบอก ยาว 1-7 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-2 ซม.
พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทย
พบทุกภาค ขึ้นเบียนรากพืชอื่นตามถิ่นที่อยู่หลากหลายรวมทั้งเขาหินปูน ความสูง
ถึงประมาณ 1600 เมตร กากหมากตาฤๅษี: ช่อดอกเพศผู้มี 3 ดอก ขนาดใหญ่กว่าช่อดอกเพศเมีย ใบประดับคล้ายกาบ (ภาพ: ดอยอ่างขาง
เชียงใหม่ - HB)
46
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 46 3/1/16 5:10 PM