Page 63 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 63

กะอวม
                                                                                     สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                     กะเพราตะนาวศรี                                         สกุล Eclipta L. อยู่ภายใต้เผ่า Heliantheae มี 4 ชนิด พบในอเมริกา ในไทย
                     Teucrium scabrum Suddee & A. J. Paton                  พบเป็นวัชพืชชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “ekleipo” ไม่มี อาจหมายถึง
                                                                            แพปพัสลดรูปเป็นเกล็ดเหมือนไม่มี
                     วงศ์ Lamiaceae
                        ไม้ล้มลุก สูง 15-60 ซม. มีขนต่อมประปรายทั่วไป ใบบางครั้งเรียงรอบข้อ 3 ใบ   เอกสารอ้างอิง
                                                                            Chen, Y. and D.J. Nicholas Hind. (2011). Asteraceae (tribe Heliantheae). In
                     รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-6 ซม. ก้านใบยาวได้ถึง 1.5 ซม. ช่อดอกยาว 5-30 ซม.    Flora of China Vol. 20-21: 869.
                     ดอกติดเป็นกระจุกละ 2 ดอก เป็นชั้นห่าง ๆ บนแกนช่อ ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ
                     1.2 ซม. ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลี้ยงยาว 4-5 มม. เส้นกลีบ 10 เส้น กลีบบน
                     รูปไข่ กลีบล่าง 4 กลีบ ยาวกว่ากลีบบนเล็กน้อย ดอกสีม่วงอ่อน กลีบรูปปากเปิด
                     ยาว 0.8-1.2 ซม. กลีบบนขอบขนานกว้าง ปลายจรดกัน กลีบปากล่างกลีบข้าง
                     รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก กลีบกลางรูปไข่กลับ ยื่นแผ่ออก เกสรเพศผู้ยื่นเลยพ้น
                     กลีบดอก รังไข่จักเป็นพูตื้น ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลแห้งเมล็ดล่อน
                     รูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม. มีต่อมประปราย
                        พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ตาก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่
                     กาญจนบุรี ขึ้นบนเขาหินปูนที่เปิดโล่ง ความสูง 500-1000 เมตร

                        สกุล Teucrium L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Ajugoideae มีประมาณ 250 ชนิด ส่วนใหญ่
                        พบในแถบเมดิเตอร์เรเนียน ในไทยมี 2 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “teukrion”
                        อาจมาจาก Teukros ผู้ตั้งเมือง Salamis ในไซปรัส
                       เอกสารอ้างอิง                                       กะเม็ง: ช่อกระจุกแน่นออกตามซอกใบ 1-2 ช่อ วงใบประดับติดทน แพปพัสลดรูปเป็นเกล็ด (ภาพ: กรุงเทพฯ - RP)
                        Suddee, S. and A.J. Paton. (2008). Teucrium scabrum (Lamiaceae), a new
                           species from Thailand. Kew Bulletin 63: 675-678.  กะอวม
                                                                          Acronychia pedunculata (L.) Miq.
                                                                          วงศ์ Rutaceae
                                                                           ชื่อพ้อง Jambolifera pedunculata L.
                                                                            ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบประกอบมีใบเดียว เรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่
                                                                          หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 3.5-25 ซม. แผ่นใบมีต่อมน�้ามัน ก้านใบยาวได้ถึง
                                                                          5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 25 ซม.
                                                                          ก้านดอกยาว 0.2-1.2 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกสีขาว
                                                                          เรียงจรดกันในตาดอก มี 4 กลีบ รูปใบหอก ยาว 0.4-1.2 ซม. พับงอกลับ ปลายมี
                                                                          ติ่งแหลม เกสรเพศผู้ 8 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบดอก โคนก้านชูอับเรณูแผ่กว้าง มีขน
                                                                          จานฐานดอกสีเหลืองอ่อน หนาคล้ายนวม รังไข่มี 4 ช่องเชื่อมติดกัน แต่ละช่อง
                                                                          มีออวุล 2 เม็ด รังไข่และก้านเกสรเพศเมียส่วนมากมีขน ผลผนังชั้นในแข็ง จักตื้น ๆ
                                                                          4 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.5 ซม. เมล็ดรูปรี ยาว 3-7 มม. มีเยื่อหุ้ม
                                                                            พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูฏาน บังกลาเทศ จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                       กะเพราตะนาวศรี: ดอกเรียงเป็นกระจุกละ 2 ดอก เป็นชั้นห่าง ๆ บนแกนช่อ มีขนต่อมทั่วไป กลีบบนปลายจรดกัน
                     กลีบกลางรูปไข่กลับ ยื่นแผ่ออก (ภาพ: ตาก - PK)        และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ในไทยพบทุกภาค ความสูงถึงประมาณ 2500 เมตร
                                                                          มีสรรพคุณต้านจุลชีพ ให้น�้ามันหอมระเหย รากแก้โรคปวดตามข้อ
                     กะเม็ง
                     Eclipta prostrata (L.) L.                              สกุล Acronychia J. R. Forst. & G. Forst. มี 48 ชนิด พบในเอเชีย ออสเตรเลีย
                                                                            และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “akros”
                     วงศ์ Asteraceae                                        ยอด และ “onychos” เล็บ ตามลักษณะของกลีบดอก
                       ชื่อพ้อง Verbesina prostrata L., Eclipta angustata Umemoto & H. Koyama,
                         E. alba Hassk.                                    เอกสารอ้างอิง
                                                                            Zhang, D. and T.G. Hartley. (2008). Rutaceae. In Flora of China Vol. 11: 76-77.
                        ไม้ล้มลุก ทอดนอน สูงได้ถึง 50 ซม. ล�าต้นส่วนมากมีสีน�้าตาลแดง มีขนเอน
                     ตามกิ่ง แผ่นใบ ก้านช่อดอก และวงใบประดับ ใบเรียงตรงข้าม รูปรีถึงรูปใบหอก
                     ยาว 1-5.5 ซม. โคนสอบเรียวเป็นก้านใบสั้น ๆ หรือไร้ก้าน ขอบจักฟันเลื่อยตื้น ๆ
                     เส้นออกใกล้โคนใบข้างละเส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ออกตามซอกใบ 1-2 ช่อ
                     ก้านช่อสั้นหรือยาวได้ถึง 4 ซม. ช่อเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. ขยายในผลได้ถึง
                     1 ซม. วงใบประดับรูปถ้วย ใบประดับ 8-12 อัน เรียง 2 วง วงนอกรูปไข่ ยาว 4-6 มม.
                     วงในขนาดเล็กกว่า ติดทน ฐานดอกแบน มีกาบรูปแถบ ยาวประมาณ 3 มม.
                     ดอกวงนอกมี 20-40 ดอก เรียง 2 วง เป็นดอกเพศเมีย สีขาว กลีบรูปแถบ ยาว
                     1.5-2.5 มม. ปลายจัก 2 พู ดอกวงในสมบูรณ์เพศ มี 15-30 ดอก หลอดกลีบดอก
                     ยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายจัก 4 แฉก ยอดเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก ผลแห้ง
                     เมล็ดล่อน มี 3-4 เหลี่ยม รูปขอบขนานปลายตัด ยาว 3-3.5 มม. มีขนและตุ่มกระจาย
                     แพปพัสคล้ายเกล็ดขนาดเล็ก 2 อัน
                        มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และอเมริกาใต้ ขึ้นเป็นวัชพืชทั้ง
                     ในยุโรป แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร ทั้งต้น
                     มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง                         กะอวม: ช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกพับงอกลับ ผลจักตื้น ๆ 4 พู (ภาพซ้ายบน: เขาเขียว ชัยภูมิ - SSi; ภาพขวาบน:
                                                                          มุกดาหาร - PK; ภาพซ้ายล่าง: ภูหินร่องกล้า พิษณุโลก - PK; ภาพขวาล่าง: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP)

                                                                                                                       43






         59-02-089_001-112 Ency_new5-3 i_Coated.indd   43                                                                  3/5/16   4:50 PM
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68