Page 64 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 64

กะออก


                กะออก               สารานุกรมพืชในประเทศไทย          1.5-6 ซม. ก้านดอกยาว 1-4 มม. ใบประดับรูปใบหอกขนาดเล็ก ใบประดับย่อยมี
                Artocarpus elasticus Rienw. ex Blume                 1 คู่ รูปเส้นด้าย ยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึกเกือบจรดโคน ยาวประมาณ
                                                                     3.5 มม. ดอกรูปแตร สีม่วง ยาว 1-1.3 ซม. หลอดกลีบดอกเรียวแคบ กลีบบนจัก
                วงศ์ Moraceae                                        2 พู กลีบล่าง 3 กลีบ ปลายเว้าตื้น ด้านในมีขนอุยสีขาว เกสรเพศผู้อันสั้น 2 อัน
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 45 ม. โคนต้นมีพูพอน แยกแพศร่วมต้น น�้ายางสีขาว กิ่งมีช่องอากาศ   อันยาว 2 อัน ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว
                หูใบรูปขอบขนาน ยาว 4-20 ซม. หุ้มยอด มีขนยาว ใบเรียงเวียน ใบอ่อนขอบจักลึก   ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแห้งแตก รูปรี ยาวประมาณ 3 มม.
                3-5 พู ใบแก่รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 13-60 ซม. ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม.   พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ รูปทรงกระบอก ยาว 6-15 ซม. ก้านช่อ  และภาคตะวันออก ขึ้นตามที่โล่งที่ชื้นแฉะ ความสูงไม่เกิน 200 เมตร ส่วนต่าง ๆ
                หนา ยาว 3.5-7.5 ซม. มีขนประปราย กลีบรวมเป็นหลอดสั้น ๆ ปลายจักตื้น ๆ   ให้น�้ามันหอมระเหย มีสรรพคุณต้านอนุมูลอิสระ
                2 พู เกสรเพศผู้ 1 อัน ยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกเพศเมียแบบช่อกระจุกแน่น
                                                                       สกุล Limnophila R. Br. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Scrophulariaceae มีประมาณ 40 ชนิด
                ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ รูปรี ก้านช่อหนา ยาว 4.5-12 ซม. มีขนประปราย กลีบรวม  พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีประมาณ 20 ชนิด
                เป็นหลอดสั้น ๆ มีขนรูปลิิ่มแคบหรือรูปเส้นด้าย ยาว 0.6-1.2 ซม. ยอดเกสรเพศเมีย  ส่วนมากเป็นพืชนำ้า ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “limne” ที่ชื้นแฉะ และ “philos” ชอบ
                แยก 2 แฉก ช่อผลรูปรีกว้าง ยาว 6-17 ซม. ปลายกลีบรวมติดบนผนังช่อด้านนอก   หมายถึงพืชที่ชอบขึ้นตามที่ชื้นแฉะ
                มี 2 ขนาด ผนังช่อชั้นกลางนุ่ม ผลย่อยรูปรี ยาว 0.8-1 ซม.
                   พบที่พม่า ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ (ปาลาวัน) ในไทยพบทางภาคเหนือที่  เอกสารอ้างอิง
                ตาก ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ชลบุรี ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี และภาคใต้   Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 171.
                ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงระดับต�่า ๆ ผลสุกและเมล็ดกินได้
                   สกุล Artocarpus J. R. Forst. & G. Forst. อยู่ภายใต้เผ่า Artocarpeae แยก
                   เป็นสกุลย่อย Artocarpus และ Pseudojaca ตามการเรียงตัวของใบแบบเรียง
                   เวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว หูใบขนาดใหญ่หุ้มยอดหรือหูใบขนาดเล็กด้าน
                   ข้าง และช่อผลมีหนามหรือเรียบ ตามลำาดับ มีประมาณ 45 ชนิด ส่วนใหญ่พบ
                   ในภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมีพืชพื้นเมือง 12 ชนิด เป็นไม้ผลต่างถิ่น 2 ชนิด คือ
                   สาเก A. altilis (Parkinson) Fosberg มีถิ่นกำาเนิดในฟิลิปปินส์ หมู่เกาะโมลุกกะ
                   นิวกินี และขนุน A. heterophyllus Lam. มีถิ่นกำาเนิดในอินเดีย ส่วนจำาปาดะ A.
                   integer (Thunb.) Merr. ที่นิยมปลูกทางภาคใต้ พบกระจายทั่วไปในป่าดิบชื้น  กะออม: ใบเรียงตรงข้าม โคนเว้าตื้น ๆ ดอกออกเป็นกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม หลอดกลีบมีสันเป็นครีบ ดอกรูปแตร
                   ระดับต่ำา ๆ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “artos” ขนมปัง และ “kapos” ผล หมาย  กลีบบนจัก 2 พู กลีบล่าง 3 กลีบ ปลายเว้าตื้น ด้านในมีขนอุยสีขาว (ภาพ: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - SSi)
                   ถึงผลของสาเกที่มีแป้งนำาไปปรุงอาหารให้รสชาติเหมือนขนมปัง
                                                                     กันเกรา, สกุล
                  เอกสารอ้างอิง
                   Berg, C.C, E.J.H. Corner and F.M. Jarrett. (2006). Moraceae: genera other   Fagraea Thunb.
                      than Ficus. In Flora Malesiana Vol. 17(1): 88.  วงศ์ Gentianaceae
                   Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae.
                      In Flora of Thailand Vol. 10(4): 484-485.        ไม้พุ่ม ไม้ต้น หรือไม้เถา บางครั้งอิงอาศัย ใบเรียงตรงข้าม แผ่นใบส่วนมากหนา
                                                                     เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน หูใบรูปติ่งหู ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อแบบช่อกระจุก
                                                                     กลีบเลี้ยงหนา มี 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม กลีบดอกหนา เชื่อมติดกันเป็นหลอด มี
                                                                     5 กลีบ สั้นกว่าหลอดกลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก รังไข่มี
                                                                     2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมีย 1 อัน โคนก้านติดทนในผล ผลสดมีหลายเมล็ด เมล็ด
                                                                     เป็นเหลี่ยม
                                                                       สกุล Fagraea Thunb. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Loganiaceae มีประมาณ 75 ชนิด
                                                                       พบในเอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 6 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
                                                                       ชาวสวีเดน Jonas Theodorus Fragraeus (1729-1797)

                                                                     กันเกรา
                  กะออก: กิ่งมีช่องอากาศ หูใบหุ้มยอดจนมิด มีขนยาว ช่อดอกเพศผู้แบบช่อเชิงลด ดอกเพศเมียออกเป็นช่อกระจุกแน่น
                ในผลปลายกลีบรวมติดบนผนังช่อด้านนอก มี 2 ขนาด (ภาพ: น�้าตกโคคลาน ตรัง - RP)  Fagraea fragrans Roxb.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. เปลือกแตกเป็นร่อง หูใบยาว 1-2 มม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรี
                                                                     รูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 7-11 ซม. ปลายแหลมหรือยาวคล้ายหาง
                                                                     เส้นแขนงใบข้างละ 5-9 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุก ยาว 4-12 ซม. ก้านช่อยาว
                                                                     2-6.5 ซม. ก้านดอกยาว 3-6 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ยาว 2-3 มม. ปลายกลีบกลม
                                                                     ดอกรูปแตร สีครีมเปลี่ยนเป็นสีเข้มก่อนร่วง หลอดกลีบดอกยาว 0.7-1.2 ซม.
                                                                     กลีบรูปขอบขนาน ยาว 5-8 มม. พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 5 อัน ยื่นพ้นปากหลอด
                                                                     กลีบดอก ก้านชูอับเรณูแผ่กว้าง ยาว 1.5-2 ซม. ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ถึง 6 ซม.
                  สาเก: ใบแก่แฉกลึก (ภาพซ้าย: cultivated - RP); จ�าปาดะ: ก้านช่อไม่ขยายเป็นขอบ (ภาพขวา: ยะลา - RP)  ยอดเกสรเพศเมียรูปโล่หรือจัก 2 พู ผลสดมีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มม.
                กะออม                                                สุกสีเหลืองหรืออมแดง ปลายมีติ่งแหลม เมล็ดขนาดประมาณ 1 มม. เป็นเหลี่ยม
                                                                       พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี ในไทยพบทุกภาค
                Limnophila geoffrayi Bonati                          ขึ้นตามชายฝั่งทะเล ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น เป็นไม้ประดับหรือ
                วงศ์ Plantaginaceae                                  ไม้ข้างถนน ดอกมีกลิ่นหอม เปลือกและดอกใช้แก้พิษงู ใบแก้ไข้และโรคปวดข้อ
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 35 ซม. ล�าต้นและกิ่งมีขน ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปไข่ หรือ
                รูปใบหอก ยาว 1-3 ซม. โคนสอบเรียวจรดล�าต้น ขอบใบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ   เอกสารอ้างอิง
                                                                       Griffin, O. and J. Parnell. (1997). Loganiaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3):
                แผ่นใบด้านบนสาก มีจุดโปร่งแสงด้านล่าง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ก้านช่อยาว   198-199.

                44






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   44                                                                  3/1/16   5:09 PM
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69