Page 68 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 68

กาญจนิกา


                กาญจนิกา            สารานุกรมพืชในประเทศไทย          กาติดขาว
                Santisukia pagetii (Craib) Brummitt                  Erycibe albida Prain
                วงศ์ Bignoniaceae                                      ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูง 3-10 ม. กิ่งมีริ้วและขนแข็งเอน ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                  ชื่อพ้อง Radermachera pagetii Craib, Barnettia pagetii (Craib) Santisuk   ยาว 14-30 ซม. ปลายแหลมยาว มีติ่งสั้น ๆ ก้านใบยาว 0.5-2 ซม. ช่อดอกแบบ
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบประกอบยาว 17-35 ซม. ใบย่อยมี 5-10 คู่ รูปไข่   ช่อกระจุกตามซอกใบ มีได้ถึง 10 ดอก ก้านดอกสั้น เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม.
                รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-7 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ก้านใบย่อยยาว   กลีบเลี้ยงเกือบเกลี้ยง ขอบมีขนครุย กลีบคู่นอกรูปกลม 3 กลีบด้านในรูปไข่ ยาว
                1-5 มม. ช่อดอกยาว 20-35 ซม. มีขนและต่อมประปราย หลอดกลีบเลี้ยงยาว   2.2-3.5 มม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาว 2-5 มม. มีแถบขนสีน�้าตาลด้านนอก
                                                                     ปลายกลีบแยก 2 พู กลีบยาวกว่าพู อับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ปลายยื่นพ้น
                1.5-2 ซม. มีต่อมหนาแน่น ดอกรูปแตร สีขาว ยาว 4.5-5.5 ซม. หลอดกลีบดอก  หลอดกลีบดอกเล็กน้อย รังไข่รูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 2 มม. ยอดเกสรเพศเมีย
                ตรง ฝักรูปขอบขนาน ยาว 10-16 ซม. มีต่อมหนาแน่น ผนังกั้นกว้าง 2.5-3 ซม.   มีริ้ว 5 อัน ผลรูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. ผิวมีตุ่มกระจาย
                เมล็ดยาวประมาณ 2.5 ซม. รวมปีก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แคสันติสุข, สกุล)
                                                                       พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทย ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือตอนล่าง และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่  ถึงประมาณ 1100 เมตร
                อุทัยธานี กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นบนเขาหินปูนที่แห้งแล้ง
                หรือใกล้ชายทะเล ความสูงถึงประมาณ 200 เมตร             เอกสารอ้างอิง
                                                                       Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 387-395.
                  เอกสารอ้างอิง
                   Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae (Barnettia pagetii). In Flora of Thailand Vol.
                      5(1): 57-60.














                  กาญจนิกา: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ดอกรูปแตร หลอดกลีบดอกตรง ฝักรูปขอบขนาน
                มีต่อมหนาแน่น (ภาพ: เขาหลวง ก�าแพงเพชร - RP)
                                                                      กาติด: ไม้พุ่มรอเลื้อย ช่อดอกแบบช่อกระจุก ดอกหนาแน่น ดอกสีเหลืองครีม ปลายกลีบดอกจักเป็นพูตื้น กลีบเลี้ยง
                กาติด, สกุล                                          ติดทน ผลแก่สีอมส้ม (ภาพลักษณะวิสัยและดอก: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK; ภาพผล: ระนอง - RP)
                Erycibe Roxb.
                วงศ์ Convolvulaceae
                   ไม้เถาเนื้อแข็ง ไม้พุ่มรอเลื้อย หรือไม้ต้นขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน ช่อดอกออก
                เป็นกลุ่มแน่น แบบช่อกระจะ หรือช่อแยกแขนง ใบประดับร่วงเร็ว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                ยาวเท่า ๆ กัน แยกจรดโคน ติดทน ดอกรูปกงล้อ มีกลิ่นหอม มี 5 กลีบ แฉกลึก
                กลีบแยก 2 พู ด้านนอกมีแถบขน เกสรเพศผู้ 5 อัน อยู่ภายในหลอดกลีบดอก
                โคนอับเรณูรูปหัวใจ เรณูไม่มีหนาม รังไข่ 1 หรือ 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 4 เม็ด
                ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรมีริ้ว 5 หรือ 10 อัน หรือบิดเป็นเกลียว ผลสด
                ผนังหนา ส่วนมากมีเมล็ดเดียว
                                                                      กาติดขาว: ช่อดอกแบบช่อกระจุกตามซอกใบ ดอกสีขาว กลีบดอกด้านนอกมีแถบขนสีน�้าตาล ปลายกลีบแยก 2 พู
                                                                     (ภาพ: เขาสก สุราษฎร์ธานี - PK)
                   สกุล Erycibe มีประมาณ 75 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี
                   ประมาณ 10 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “erusibe” เชื้อราเป็นวง หมายถึง  กาบกล้วย
                   เป็นวงขาวตามลักษณะดอกหรือสิ่งปกคลุมเป็นวง ๆ
                                                                     Pisonia umbellifera (J. R. Forst. & G. Forst.) Seem.
                กาติด                                                วงศ์ Nyctaginaceae
                Erycibe citriniflora Griff.                           ชื่อพ้อง Pisonia excelsa Blume, Ceodes umbellifera J. R. Forst. & G. Forst.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. ใบเรียงเวียนหรือเกือบตรงข้าม รูปรีถึงรูปใบหอก หรือ
                   ไม้เถาเนื้อแข็งหรือไม้พุ่มรอเลื้อย สูง 5-8 ม. กิ่งอ่อนมีขนรูปดาว ใบรูปขอบขนาน  แกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้าย
                หรือรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ยาว 8-30 ซม. ปลายแหลมยาว แผ่นใบบาง ก้านใบ  ช่อซี่ร่ม แยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ยาว 4-12 ซม. ดอกสมบูรณ์เพศและแยกเพศ
                ยาว 0.7-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตามซอกใบ มีได้ถึง 20 ดอก ก้านดอก  ร่วมต้น ก้านดอกยาว 1-6 มม. ใบประดับย่อย 1-3 ใบ ดอกเพศผู้กลีบรวมเว้าเหนือ
                ยาว 1.5-3 มม. กลีบเลี้ยงมีขนกระจุกรูปดาวสีน�้าตาลแดงด้านนอก กลีบคู่นอกกลม   รังไข่ รูประฆัง ด้านนอกมีขนสีน�้าตาลประปราย ปลายแยก 5 กลีบสั้น ๆ เกสรเพศผู้
                กลีบใน 3 กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 2.5-3.5 มม. ดอกสีเหลืองครีม หลอดกลีบดอก  7-10 อัน ก้านชูอับเรณูยาวไม่เท่ากัน โคนเชื่อมติดกันเป็นวง ดอกเพศเมียรูปทรงกระบอก
                ยาว 2.5-4 มม. มีแถบขนสีน�้าตาลแดงด้านนอก กลีบยาว 0.7-1 ซม. ปลายจัก  ยาวเท่า ๆ ดอกเพศผู้ กลีบติดทนหุ้มรังไข่คล้ายรังไข่ใต้วงกลีบ ยอดเกสรเพศเมีย
                เป็นพูตื้น อับเรณูยาว 1.7-2 มม. ปลายยื่นพ้นหลอดกลีบดอก รังไข่รูปทรงกระบอก   จักชายครุย ยื่นเลยพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย ผลเป็นแท่งเรียว ยาว 2.5-4 ซม.
                ยาว 1-1.5 มม. ยอดเกสรเพศเมียมีริ้ว 10 อัน ผลรูปรี ยาวประมาณ 2 ซม. ผลแก่  มี 5 สัน มีเมือกเหนียว ก้านยาว 1-1.5 ซม. มีเมล็ดเดียว รูปขอบขนาน มีร่องตื้น
                สีแดงอมส้ม                                             พบที่ฮาวาย มาดากัสการ์ ไห่หนาน ไต้หวัน หมู่เกาะอันดามัน เวียดนาม ภูมิภาค
                   พบที่พม่า และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่อุทัยธานี   มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย ในไทยส่วนมากพบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้
                ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึง  และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น หรือเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
                ประมาณ 500 เมตร                                      สารสกัดจากใบแก้พิษจากปลาทะเล

                48






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   48                                                                  3/1/16   5:10 PM
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73