Page 67 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 67

ก้างปลาขาว                                                     สารานุกรมพืชในประเทศไทย  กาซะลองค�า
                    Flueggea virosa (Roxb. ex Willd.) Voigt
                    วงศ์ Euphorbiaceae
                      ชื่อพ้อง Phyllanthus virosa Roxb. ex Willd.
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. แยกเพศต่างต้น กิ่งด้านล่างมักเป็นหนาม หูใบขนาดเล็ก
                    ติดทน ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปรีหรือรูปไข่กลับ มีนวลด้านล่าง ช่อดอกแบบ
                    ช่อกระจุกออกตามซอกใบ ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้จ�านวนมาก เส้นผ่านศูนย์กลาง
                    ประมาณ 1.5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ สีเขียวอ่อน ก้านดอก
                    ยาว 2-6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 2 มม. จานฐานดอก  ก้างปลาดิน: ไม้พุ่มเตี้ยเกาะเลื้อยบนพื้นดิน แผ่นใบด่าง กิ่งมีขน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ กลีบเลี้ยงคล้ายสี่เหลี่ยม
                    เป็นต่อมสีเหลือง 5 ต่อม มีเกสรเพศเมียที่เป็นหมัน ดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก   ข้าวหลามตัดมน ๆ ปลายเกสรเพศเมียโค้งกลับ (ภาพ: ป่าละอู ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
                    มีได้ถึง 10 ดอก คล้ายดอกเพศผู้ ใหญ่กว่าเล็กน้อย ก้านดอกยาวได้ถึง 1.2 ซม.   กาซะลองคำา, สกุล
                    จานฐานดอกบางเป็นวง รังไข่ 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น   Radermachera Zoll. & Moritzi
                    ยอดเกสร 3 อัน ยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยกเป็นแฉก ผลคล้ายผลผนังชั้นในแข็ง
                    เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม. ผลแก่สีขาว เมล็ดรูปสามเหลี่ยม  วงศ์ Bignoniaceae
                       พบที่แอฟริกา เอเชียเขตร้อน และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง   ไม้ต้น ใบประกอบ 1-3 ชั้น เรียงตรงข้ามสลับฉาก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง
                    ชายป่า ข้างถนน ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร ทั้งต้นมีสรรพคุณแก้โรคผิวหนัง  หรือลดรูปดูคล้ายออกเป็นกระจุก ออกที่ปลายกิ่งหรือตามกิ่ง กลีบเลี้ยงรูปหลอด
                    อักเสบ แก้ไข้ และโรคปวดข้อ                          หรือระฆังคล้ายกาบ แฉกลึกไม่เท่ากัน หรือขอบตัด ดอกรูปดอกเข็ม รูปกรวย
                                                                        หรือรูประฆัง ปลายแยก 5 แฉก คล้ายรูปปากเปิด เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน
                       สกุล Flueggea Willd. มี 14 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมีชนิดเดียว   และอาจมีที่เป็นหมัน 1 อัน จานฐานดอกเป็นวง รังไข่มี 2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก
                       ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Johannes Flüggé (1775-1816)  เรียง 2 แถวในแต่ละช่อง ก้านเกสรเพศเมียไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ยอดเกสร
                                                                        รูปลิ้น แยกเป็น 2 แฉก ผลแห้งแตกกลางพู รูปแถบ มีสันเป็นเหลี่ยม 2 สัน ผนังกั้นหนา
                      เอกสารอ้างอิง                                     เมล็ดแบน มีปีกใสที่ปลายทั้งสองด้าน
                       Barker, C. and P.C. van Welzen. (2005). Euphorbiaceae (Flueggea). In Flora of
                          Thailand Vol. 8(1): 299-303.
                                                                           สกุล Radermachera มีประมาณ 15 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน โดยเฉพาะ
                                                                           เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมี 6 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาว
                                                                           ดัตช์ Jacobus C. M. Radermacher (1741-1783)

                                                                        กาซะลองคำา
                                                                        Radermachera ignea (Kurz) Steenis
                                                                          ชื่อพ้อง Mayodendron igneum (Kurz) Kurz, Spathodea igneum Kurz
                                                                           ไม้ต้น สูง 10-15 ม. ใบประกอบ 2-3 ชั้น ยาว 18-60 ซม. ใบประกอบย่อยมี
                                                                        3-4 คู่ ใบย่อย 3-5 คู่ รูปไข่แกมรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5-12 ซม. เบี้ยว
                                                                        มักมีต่อมที่โคนด้านหลังใบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ออกตามล�าต้นและกิ่ง
                                                                        มี 5-13 ดอก ดอกสีส้ม ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงติดกันประมาณกึ่ง
                                                                        หนึ่งคล้ายกาบ หลอดกลีบยาว 1.5-2 ซม. ดอกรูปกรวย ยาว 4.5-7 ซม. ปลายแยก
                                                                        เป็นแฉกรูปกลม ยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้มีขน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ
                                                                        4.5 ซม. แกนอับเรณูปลายเป็นติ่งแหลม ฝักยาว 30-45 ซม.
                      ก้างปลาขาว: ดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสร 3 อัน ปลายแยกเป็นแฉก ผลแก่สีขาว
                    (ภาพผลแก่: ย่านตาขาว ตรัง - RP; ภาพผลอ่อนและดอกเพศเมีย: แม่สอด ตาก - PK)  พบที่จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบกระจายทุกภาค
                                                                        ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                    ก้างปลาดิน
                    Breynia repens Welzen & Pruesapan                     เอกสารอ้างอิง
                                                                           Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 41.
                    วงศ์ Phyllanthaceae                                    Zhang, Z.Y. and T. Santisuk. (1998). Bignoniaceae (Mayodendron). In Flora of
                       ไม้พุ่มเตี้ยเกาะเลื้อยบนพื้นดิน รากออกตามข้อ กิ่งมีขนยาว หูใบยาว 2-3 มม.   China Vol. 18: 218.
                    ติดทน มีขนด้านนอก ใบช่วงโคนรูปคล้ายสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว 0.6-1 ซม.
                    กว้าง 0.7-1.5 ซม. ปลายกลม โคนตัด ใบอื่น ๆ รูปรี ยาว 2.4-5.3 ซม. ปลายแหลม
                    โคนรูปลิ่ม แผ่นใบด่างรูปก้างปลา ด้านล่างมีขน เส้นแขนงใบข้างละ 4-8 เส้น
                    เรียงจรดกัน ก้านใบยาว 0.7-2 มม. ดอกเพศผู้ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ตามซอกใบ
                    ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาวประมาณ 4 มม. กลีบเลี้ยงคล้ายสี่เหลี่ยม
                    ข้าวหลามตัดมน ๆ มีขนด้านนอก 3 กลีบนอกกว้างประมาณ 1.8 มม. ยาวประมาณ
                    1.4 มม. 3 กลีบในขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย ปลายเกสรเพศเมียโค้งกลับ (ดูข้อมูล
                    เพิ่มเติมที่ ครามน�้า, สกุล)
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่ป่าละอู จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
                    ขึ้นใต้ร่มเงาในป่าดิบแล้ง ความสูงประมาณ 400 เมตร

                      เอกสารอ้างอิง
                       van Welzen, P.C. and K. Pruesapan. (2011). Four new species of Breynia
                          (Phyllanthaceae/Euphorbiaceae sensu lato) and one new combination from   กาซะลองค�า: ใบประกอบ 2-3 ชั้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ตามล�าต้นและกิ่ง กลีบดอกรูปกรวย กลีบเลี้ยง
                          Thailand and Malaysia. Thai Forest Bulletin (Botany) 38: 117-119.  คล้ายกาบ (ภาพ: แม่แตง เชียงใหม่ - SSi)

                                                                                                                      47






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   47                                                                  3/1/16   5:10 PM
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72