Page 78 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 78

กีบม้าลม
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                กลีบเลี้ยง 4 กลีบ คล้ายเกล็ดรูปแถบ ช่อดอกเพศผู้ออกเดี่ยว ๆ ออกก่อนผลิใบ   พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ลาว กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซีย นิวกินี
                ยาวได้ถึง 20 ซม. เกสรเพศผู้ 2 อัน อับเรณูเชื่อมติดกัน ช่อดอกเพศเมียมี 2-5 ช่อ   ฟิลิปปินส์ ในไทยพบมากทางภาคใต้ ขึ้นตามต้นไม้ในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น
                เรียงแบบช่อกระจะสั้น ๆ ที่โคน ยาว 5-10 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 3 มม.   ความสูงระดับต�่า ๆ และชายป่าพรุ มีสรรพคุณแก้อาการคัน พิษงู ตะขาบ และแมงป่อง
                มีขนสั้นนุ่ม โคนคล้ายฟองน�้า พูกลางรูปขอบขนาน พูข้างรูปเป็นติ่ง รังไข่ใต้วงกลีบ
                มี 2 ช่อง ออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน ติดทน ผลแห้งเมล็ดล่อน แบน   เอกสารอ้างอิง
                                                                       Lin, Y., Z. Xianchun and P.H. Hovenkamp. (2013). Polypodiaceae (Pyrrosia). In
                รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 มม. มีปีกบาง ๆ ส่วนมากมีเมล็ดเดียว   Flora of China Vol. 2-3: 786, 795.
                   พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล พม่า จีน ลาว และเวียดนาม ในไทยพบกระจาย  Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                          Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                ทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย เพชรบูรณ์ ภาคตะวันตกเฉียงใต้  Tagawa, M. and K. Iwatsuki (1989). Polypodiaceae (Drymoglossum piloselloides).
                ที่กาญจนบุรี และที่เขาใหญ่ จังหวัดนครราชสีมา ปราจีนบุรี และนครนายก ขึ้นตาม  In Flora of Thailand Vol. 3 (4): 490.
                ป่าดิบเขา ความสูง 1000-1600 เมตร เปลือกนอกบางใช้ท�ากระดาษ เปลือกชั้นใน
                น�้ามันมีกลิ่นหอม มีสรรพคุณคล้ายน�้ามันมวย หรือใช้เคลือบหนัง

                   สกุล Betula L. หรือ birch แยกเป็นหลายสกุลย่อย มีประมาณ 60 ชนิด ส่วนมาก
                   เป็นพืชในเขตอบอุ่น พบทางซีกโลกเหนือทั้งอเมริกาและยุโรป และเอเชีย พบน้อย
                   ในอเมริกาใต้ ในไทยอาจมีมากกว่าหนึ่งชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “betula”
                   ที่ใช้เรียกพืชพวก birch tree
                  เอกสารอ้างอิง
                   Li, P.C. and A.K. Skvortsov. (1999). Betulaceae. In Flora of China Vol. 4: 304,
                      306.                                            กีบม้าลม: เฟินอิงอาศัย เหง้าทอดยาว แผ่นใบหนา ใบไม่สร้างสปอร์รูปร่างหลายแบบ ใบสร้างสปอร์รูปแถบ กลุ่ม
                                                                     อับสปอร์เรียงใกล้ขอบใบเป็นแถวยาว (ภาพ: โต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                                                                     กีวีป่า
                                                                     Actinidia rubricaulis Dunn
                                                                     วงศ์ Actinidiaceae
                                                                       ไม้เถาเนื้อแข็ง กิ่งเกลี้ยง มีช่องอากาศ ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว
                                                                     6-16 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น
                                                                     เส้นใบไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ
                                                                     หรือตามกิ่ง มีดอกเดียวหรือ 2-5 ดอก ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาวได้ถึง
                                                                     2.5 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 4-5 มม. ติดทน ขอบมีขนครุย ดอกสีขาว
                                                                     หริืออมแดง มี 5 กลีบ รูปไข่หรือเกือบกลมเรียงซ้อนเหลื่อม ยาว 0.7-1 ซม. เกสรเพศผู้
                                                                     จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูยาว 1-3.5 ซม. อับเรณูสีเหลือง โคนรูปเงี่ยง ไม่มีจานฐานดอก
                                                                     คาร์เพลจ�านวนมากเชื่อมติดกัน มีขนสั้นนุ่ม ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมีย
                  ก�าลังเสือโคร่ง: เปลือกลอกเป็นแผ่นบาง ๆ มีต่อมชัน ช่อดอกเพศเมียมี 2 ช่อ เรียงแบบช่อกระจะสั้น ๆ ช่อดอก  เท่าจ�านวนคาร์เพล แผ่เป็นรัศมีกระจาย ยาวได้ถึง 3 มม. ผลสดรูปไข่หรือเกือบกลม
                ห้อยลง รูปทรงกระบอก ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อมหนาแน่น (ภาพ: ดอยผ้าห่มปก เชียงใหม่ - SSa)  ยาว 1.5-2 ซม. มีช่องอากาศกระจาย ผนังชั้นในฉ�่า เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
                กีบม้าลม, สกุล                                         พบที่จีนตอนใต้ และภาคเหนือของไทยที่แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ขึ้นตามป่าดิบเขา
                Pyrrosia Mirb.                                       ความสูง 1600-1850 เมตร
                วงศ์ Polypodiaceae                                     สกุล Actinidia Lindl. มีประมาณ 55 ชนิด พบในเอเชีย โดยเฉพาะจีนที่มีมากกว่า
                   เฟินอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน เหง้าสั้นหรือทอดนอน มีเกล็ดหนาแน่น มีขนกระจุก  50 ชนิด ในไทยมีพืชพื้นเมือง 2 ชนิด อีกชนิดคือ A. latifolia (Gardner & Champ.)
                รูปดาวตามเหง้าหรือใบอ่อน ใบไม่สร้างสปอร์และใบสร้างสปอร์คล้ายกัน ต่างกัน  Merr. ดอกจำานวนมากกว่า และผลขนาดใหญ่กว่า ส่วนกีวีที่เป็นไม้ผลที่นิยมปลูก
                เฉพาะความกว้าง ส่วนมากเรียบ พบน้อยที่จักเป็นพูหรือรูปเงี่ยงลูกศร เส้นกลางใบ  ทางภาคเหนือ ส่วนใหญ่เป็นชนิด A. deliciosa (A. Chev.) C. F. Liang & A. R.
                ชัดเจน กลุ่มอับเรณูรูปรีหรือกลม เกิดตามปลายเส้นแขนงใบ เรียงหนึ่งหรือหลายแถว  Ferguson ซึ่งถูกนำาเข้าไปในนิวซีแลนด์จนกลายเป็นผลไม้ที่ขึ้นชื่อ และถูกเรียกว่า
                ในแต่ละข้างของเส้นกลางใบ อับสปอร์มีก้านหรือไร้ก้าน     Kiwi fruit ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aktin” รัศมี ตามลักษณะการติดของก้าน
                                                                       เกสรเพศเมีย
                   สกุล Pyrrosia มีประมาณ 60 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน
                   รวมจีนตอนกลางและญี่ปุ่น จนถึงนิวซีแลนด์ ในไทยมี 17 ชนิด ชื่อสกุลมาจาก  เอกสารอ้างอิง
                                                                       Keng, H. (1972). Actinidiaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 139-140.
                   ภาษากรีก “pyrros” สีเปลวไฟตามลักษณะของเกล็ดที่เหง้า  Li, J., X. Li and D.D. Soejarto. (2007). Actinidiaceae. In Flora of China Vol. 12:
                                                                          334, 341.
                กีบม้าลม
                Pyrrosia piloselloides (L.) M. G. Price
                  ชื่อพ้อง Pteris piloselloides L., Drymoglossum piloselloides (L.) C. Presl
                   เฟินอิงอาศัย มีขนกระจุกรูปดาวสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตามเหง้าและใบอ่อน
                ทั้งสองด้าน เหง้าทอดยาว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม. เกล็ดสีน�้าตาลเข้ม
                รูปโล่หรือรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1 มม. ขอบจัก ขอบช่วงโคนมีขนครุย
                แผ่นใบหนา เรียงห่าง ๆ ใบไม่สร้างสปอร์รูปกลม รูปรี รูปไข่ หรือรูปใบหอก ยาว
                1-7 ซม. ปลายมน แผ่นหนา เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 2-8 มม. ใบสร้าง
                สปอร์รูปขอบขนานถึงรูปแถบ ยาว 3-25 ซม. ปลายแหลม มน หรือกลม ก้านใบ
                                                                      กีวีป่า: กิ่งเกลี้ยง มีช่องอากาศ ใบเรียงเวียน ปลายแหลมหรือแหลมยาว ขอบจักฟันเลื่อย ผลมีช่องอากาศ กลีบเลี้ยงติดทน
                ยาว 5-10 มม. กลุ่มอับสปอร์เรียงใกล้ขอบใบเป็นแถวยาว กว้างประมาณ 2 มม.   (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)

                58






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   58                                                                  3/1/16   5:12 PM
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83