Page 80 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 80
กุหลาบพุกาม
เอกสารอ้างอิง สารานุกรมพืชในประเทศไทย กุหลาบพุกาม
Chamberlain, D.F. (1982). A revision of Rhododendron II. Subgenus Hymenanthes.
Notes from the Royal Botanic Garden Edinburgh 39(2): 328-332. Pereskia bleo (Kunth) DC.
Chamberlain, D.F. and S.J. Rae. (1990). A revision of Rhododendron IV subgenus วงศ์ Cactaceae
Tsutsusi. Edinburgh Journal of Botany. 47(2): 115-116. ชื่อพ้อง Cactus bleo Kunth, Rhodocactus bleo (Kunth) F. M. Knuth
Fang, M., F. Ruizheng, H. Mingyou, H. Linzhen, Y. Hanbi and D.F. Chamberlain.
(2005). Ericaceae (Rhododendron). In Flora of China Vol. 14: 260, 272, ไม้พุ่ม แตกกอ สูงได้ถึง 5 ม. ขุมหนามตามล�าต้นโป่งนูน ตามซอกใบมีหนาม
427, 440. น้อยกว่าตามล�าต้น หนามยาว 1-1.5 ซม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-15 ซม.
Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 125-132. ก้านใบยาว 1-2.5 ซม. เส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เส้น ดอกออกตามขุมหนามที่
ปลายกิ่ง มี 1-5 ดอก ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 1-1.5 ซม. ใบประดับคล้ายเกล็ด
ก้านดอกสั้น หนา ดอกสีส้ม กลีบรวมจ�านวนมาก เรียงเป็นวง ๆ รูปรีหรือรูปไข่กลับ
ยาว 2-3 ซม. วงนอกสีเขียวขนาดเล็ก และหนา เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณู
ยาวไม่เท่ากัน อันยาวยาวได้ถึง 1.5 ซม. โคนสีขาว ปลายสีแดง อับเรณูสีขาว รังไข่
ใต้วงกลีบ ก้านเกสรเพศเมียหนา สั้นกว่าหรือยาวกว่าเกสรเพศผู้เล็กน้อย ผลสด
มีหลายเมล็ด รูปกรวยคว�่า ปลายตัด กลางบุ๋ม กว้างและยาวเท่า ๆ กัน ยาว 4-5 ซม.
ผนังหนา เมล็ดแบน สีด�า ผิวขรุขระ
มีถิ่นก�าเนิดในโคลัมเบีย ปานามา และนิการากัว เป็นไม้ประดับทั่วไป
สกุล Pereskia Mill. ต่างจากสกุลอื่น ๆ ที่ส่วนมากใช้ลำาต้นในการสังเคราะห์ด้วยแสง
มี 17 ชนิด พบในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ
กุหลาบเมาะลำาเลิง P. grandifolia Haw. ช่อดอกแผ่กว้างดอกสีชมพู มี 6-8 กลีบ
เชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Nicolas-Claude Fabri de Peiresc
กุหลาบขาว: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่งบนเขาหินปูน มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่ง ใบอ่อน และผลอ่อน ช่อดอกออกสั้น ๆ เอกสารอ้างอิง
ตามปลายกิ่ง ดอกรูปแตร (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่; ภาพบน - SSi, ภาพล่าง - RP) ราชบัณฑิตยสถาน. (2547). อนุกรมวิธานพืชอักษร ก. พิมพ์ครั้งที่ 2. ราชบัณฑิตยสถาน,
กรุงเทพฯ.
Hawkes, M.W. (2004). Cactaceae (Pereskia). In Flora of North America Vol. 4:
101. http://www.efloras.org
กุหลาบแดง: ดอกรูประฆัง สีแดงอมชมพูหรือแดงเข้ม มีจุดสีเข้มกระจาย เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน
(ภาพ: ภูหลวง เลย - SSi)
กุหลาบพุกาม: ขุมหนามตามล�าต้นโป่งนูน ตามซอกใบมีหนามน้อยกว่า กลีบรวมสีส้มจ�านวนมาก เรียงเป็นวง ๆ
ผลรูปกรวยคว�่า ปลายตัด กลางบุ๋ม (ภาพ: cultivated - RP)
กุหลาบมลายู
Rhododendron malayanum Jack
วงศ์ Ericaceae
ไม้พุ่มอิงอาศัยหรือขึ้นตามพื้นดิน อาจสูงได้ถึง 5 ม. มีเกล็ดสีน�้าตาลแดงหนาแน่น
ตามแผ่นใบด้านล่าง ก้านดอก กลีบเลี้ยง รังไข่ และผล ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน
ยาว 4-15 ซม. ก้านใบยาว 1-2.2 ซม. ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง มี 3-8 ดอก
กุหลาบป่า: ดอกสีขาว มีปื้นสีเหลืองด้านใน รูปแตรแคบ กลีบแฉกลึก ก้านดอกเกลี้ยง เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเท่า ๆ กัน ใบประดับรูปเส้นด้าย ยาวประมาณ 1.5 ซม. ก้านดอกยาว 0.6-1.5 ซม. กลีบเลี้ยง
(ภาพ: เขาเหมน นครศรีธรรมราช - RP)
จักรูปสามเหลี่ยมตื้น ๆ ดอกรูปแตร สีแดงส้ม มีเกล็ดกระจายด้านนอก หลอดกลีบดอก
ยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 5-7 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวเท่า ๆ กัน
ยื่นพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อย ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ผลรูปทรงกระบอก
เรียวแคบ ยาว 2-2.5 ซม. เมล็ดปลายมีรยางค์เป็นขนทั้ง 2 ด้าน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
กุหลาบพันปี, สกุล)
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา ชวา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ตอนล่าง
ที่ยะลา ขึ้นตามสันเขา ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Sleumer, H. (1966). Ericaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 532-533.
กุหลาบพันปี: ถิ่นที่อยู่ชายป่าดิบเขา ช่อดอกสั้น ดอกรูประฆัง ปลายกลีบดอกเว้าตื้น (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - SSi) Watthana, S. (2015). Ericaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 129.
60
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 60 3/1/16 5:12 PM