Page 85 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 85

เกล็ดนาคราช สารานุกรมพืชในประเทศไทย  เกล็ดนาคราชใบคลื่น
                                                                        Oleandra Cav.
                                                                        วงศ์ Oleandraceae
                                                                           เฟินขึ้นบนพื้นดิน อิงอาศัย หรือขึ้นบนหิน เหง้าทอดนอนหรือตั้งตรง เกล็ดสี
                                                                        น�้าตาลด�ารูปโล่ หนา เรียงซ้อนเหลื่อม ขอบมักมีขนครุย ใบเรียบ ก้านใบเป็นข้อ
                                                                        ส่วนที่เป็นข้อติดทนกับเหง้า เส้นกลางใบด้านล่างมักมีเกล็ดขนาดเล็ก เส้นใบบาง
                                                                        ครั้งแยกสองง่าม กลุ่มอับสปอร์ออกเดี่ยว ๆ เรียงแถวเดียวในแต่ละข้างของ
                                                                        เส้นกลางใบ มีเยื่อคลุม รูปกลม ติดทน ส่วนมากสีน�้าตาลแดง อับสปอร์มีรอย
                      เกซอนลา: ดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ 4 อัน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก    เชื่อมเดียว (monolete spores) มีแผ่นคล้ายปีก มีหนามเล็ก ๆ หรือขอบจัก
                    (ภาพ: cultivated; ภาพซ้าย - RP, ภาพขวา - SSi)
                                                                           สกุล Oleandra เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Davalliaceae ปัจจุบันเป็นสกุลเดียวของวงศ์
                    เกล็ดเข้                                               มี 15-20 ชนิด พบในเขตร้อนอเมริกาใต้ แอฟริกา เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
                    Parashorea densiflora Slooten & Symington subsp. kerrii (Tardieu)    ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อสกุลหมายถึงลักษณะใบที่คล้ายกับพืชพวกยี่โถ Nerium
                        Pooma                                              oleander L.
                    วงศ์ Dipterocarpaceae
                      ชื่อพ้อง Parashorea kerrii Tardieu                เกล็ดนาคราช
                                                                        Oleandra musifolia (Blume) C. Presl
                       ไม้ต้น สูง 30-40 ม. มีพูพอน โคนต้นมีช่องอากาศเป็นคอร์กกระจาย หูใบรูปไข่
                    ยาวประมาณ 5 มม. ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว   ชื่อพ้อง Aspidium musifolium Blume
                    5-18 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีเกล็ดขุยสีเหลืองและต่อมสีแดงกระจาย ใบอ่อนมีนวล   เฟินอิงอาศัย ขึ้นบนดิน หรือบนหิน เหง้าทอดเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม.
                    เส้นแขนงใบข้างละ 10-12 เส้น เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว 1-1.5 ซม.   มีรากค�้า เกล็ดรูปใบหอก ยาว 3-7 มม. ใบเรียงกระจายเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2-4 ใบ
                    ช่อดอกแยกแขนง ยาว 10-30 ซม. ก้านดอกยาว 2-3 มม. ใบประดับรูปไข่ ยาว  รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 12-80 ซม. แผ่นใบมีขนประปราย ก้านยาว 5-8.5 ซม.
                    ประมาณ 4 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม กลีบคู่นอกเรียวกว่าเล็กน้อย   ส่วนโคนถึงที่เป็นข้อต่อส่วนมากสั้น หรือยาวได้ถึง 2 ซม. มีขนและเกล็ดหนาแน่น
                    พับงอ ติดทน เกสรเพศผู้ 15 อัน เรียง 3 วง อับเรณูมี 4 พู ยาวประมาณ 3 มม.   เส้นใบแยกแขนงครั้งเดียวหรือสองครั้งใกล้เส้นกลางใบ กลุ่มอับสปอร์มีเยื่อคลุม
                    แกนอับเรณูปลายมีรยางค์เป็นติ่ง รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย   ขนาดประมาณ 2 มม. เกลี้ยง เรียงข้างละแถวใกล้เส้นกลางใบ
                    ยาวประมาณ 2 มม. แต่ละช่อมักติดผลเดียว ผลเปลือกแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง   พบที่ศรีลังกา ไห่หนาน ลาว เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทางภาคเหนือ
                    2.5-3 ซม. ผิวเป็นคอร์ก ปลายเป็นติ่งสั้น ๆ กลีบเลี้ยงหนา พับงอ ยาว 5-7 มม.  ภาคกลางที่เขาใหญ่ จังหวัดนครนายก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ภูกระดึง จังหวัดเลย
                       พบที่ลาว (เวียงจันทน์) และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของไทยที่ภูวัว   ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่จันทบุรี ภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี และภาคใต้
                    จังหวัดบึงกาฬ ขึ้นริมล�าธารในป่าดิบแล้ง ความสูงประมาณ 200 เมตร เดิมมี  ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 1100-1500 เมตร
                    สถานภาพเป็นชนิด P. kerrii Tardieu และเป็นชื่อพ้องของ P. buchananii
                    (C. E. C. Fisch.) Symington ซึ่งผลกลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก และยังไปคล้ายกับ   เกล็ดนาคราชใบคลื่น
                    P. dussaudii Tardieu ต่างกันที่มีแผ่นใบเกลี้ยง ใบประดับรูปใบหอก แต่ยังไม่มี  Oleandra undulata (Willd.) Ching
                    ข้อมูลผลว่ามีปีกหรือไม่มี ปัจจุบันจึงให้เป็นชนิดย่อยของ P. densiflora Slooten   ชื่อพ้อง Polypodium undulatum Willd.
                    & Symington ที่พบแถบคาบสมุทรมลายู ผลกลมเป็นคอร์ก กลีบเลี้ยงไม่ขยายเป็นปีก   เฟินอิงอาศัย ขึ้นบนดิน หรือบนหิน เหง้าทอดเลื้อย เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม.
                    แต่หูใบรูปแถบ ช่อดอกสั้นกว่า เส้นแขนงใบข้างละ 13-20 เส้น
                                                                        เกล็ดรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 6-7 มม. มีขนยาว ใบเรียงกระจายหรือเรียงชิดกัน
                       สกุล Parashorea Kurz อยู่ภายใต้เผ่า Shoreae ที่โคนกลีบเลี้ยงในผลเรียงซ้อนเหลื่อม   รูปใบหอก โคนเรียวแคบ ยาว 15-30 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบ
                    มี 14 ชนิด พบที่พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิด  ยาวได้ถึง 20 ซม. ส่วนโคนถึงที่เป็นข้อต่อยาว 1.5-12 ซม. มีขน เส้นใบแยกแขนง
                    คือ ไข่เขียว P. stellata Kurz ที่กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก 5 ปีก ยาวเท่า ๆ กันในผล ชื่อ  ครั้งเดียวหรือสองครั้งใกล้เส้นกลางใบ กลุ่มอับสปอร์มีเยื่อคลุมขนาดประมาณ
                    สกุลหมายถึงสกุลที่คล้ายกับสกุล Shorea               2.2 มม. มีขนยาว เรียงเป็นระเบียบหรือกระจายข้างละแถวใกล้เส้นกลางใบ
                      เอกสารอ้างอิง                                        พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ลาว กัมพูชา และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบ
                       Ashton, P.S. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9(2): 380-381.  ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง บนหินทรายหรือหินปูนที่ค่อนข้างแห้งแล้ง ความสูงถึง
                       Pooma, R. (2002). Further notes on Thai Dipterocarpaceae. Thai Forest Bulletin   ประมาณ 1000 เมตร
                          (Botany) 30: 10-12.
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                              Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                                                                           Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Oleandraceae (Nephrolepis). In Flora of
                                                                              Thailand 3(2): 179-182.
                                                                           Xianchun, Z. and P.H. Hovenkamp. (2013). Oleandraceae. In Flora of China
                                                                              Vol. 2-3: 747-748.












                      เกล็ดเข้: แผ่นใบด้านล่างมีขุยเกล็ดสีเหลือง ผลเปลือกแข็ง ผิวเป็นคอร์ก ปลายเป็นติ่งสั้น ๆ กลีบเลี้ยงหนา พับงอ
                    มักติดผลเพียงผลเดียวในแต่ละช่อ (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: ภูวัว บึงกาฬ - RP); ไข่เขียว: กลีบเลี้ยงขยายเป็นปีก 5 ปีก
                    ยาวเท่า ๆ กันในผล (ภาพขวาล่าง: ยะลา - RP)             เกล็ดนาคราช: เฟินขึ้นบนลานหิน กลุ่มอับสปอร์เรียงข้างละแถวใกล้เส้นกลางใบ (ภาพ: ภูหินร่องกล้า พิษณุโลก - PK)

                                                                                                                      65






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   65                                                                  3/1/16   5:14 PM
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90