Page 84 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 84
กูดฮ่อม
กูดฮ่อม, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Selliguea Bory Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
วงศ์ Polypodiaceae Lu, S., P.H. Hovenkamp and M.G. Gilbert. (2013). Polypodiaceae (Selliguea).
In Flora of China Vol. 2-3: 773, 775, 779.
เฟินอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน เหง้าทอดนอน เกล็ดสีน�้าตาลเข้มหรือด�าหนาแน่น Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae (Crypsinus). In Flora of
ปลายเรียวแหลม ใบไม่สร้างสปอร์และใบสร้างสปอร์เหมือนหรือต่างกัน เรียงห่าง ๆ Thailand Vol. 3(4): 556, 559-561.
ใบเดี่ยว รูปฝ่ามือ หรือจักเป็นพู ก้านใบมีเกล็ดที่โคน เส้นใบชัดเจน เรียงจรดกัน
เป็นช่องร่างแห มีเส้นใบย่อย กลุ่มอับสปอร์รูปกลม เรียงแถวเดียวหรือหลายแถว
ในแต่ละข้างเส้นกลางใบ อับสปอร์มีก้าน เซลล์ผนังหนา อับสปอร์รูปรี ผิวมีตุ่ม
หรือปุ่มกระจาย
สกุล Selliguea บางครั้งอยู่ภายใต้วงศ์ Drynariaceae มี 110-115 ชนิด ซึ่งรวมสกุล
Crypsinus หรือบางครั้งรวมถึงสกุล Phymatopteris พบ เอเชีย ออสเตรเลีย
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในแอฟริกาใต้และมาดากัสการ์พบแห่งละชนิดเดียว พบมาก
ในนิวกินี ในไทยมี 12 ชนิด หรือ 16 ชนิด (รวมสกุล Phymatopteris)
กูดฮ่อม
Selliguea oxyloba (Wall. ex Kunze) Fraser-Jenk.
ชื่อพ้อง Polypodium oxylobum Wall. ex Kunze, Crypsinus oxylobus (Wall.
ex Kunze) Sledge กูดฮ่อม: เฟินอิงอาศัย เหง้ามีขนหนาแน่น ใบจักเป็นพู 3-8 คู่ พูปลายยาวกว่าพูข้าง โคนเชื่อมติดกันเป็นปีก
เฟินอิงอาศัย เหง้าเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. มีขนหนาแน่น เกล็ดยาว (ภาพ: ภูหลวง เลย - TP)
ประมาณ 5 มม. ขอบเกล็ดจักฟันเลื่อย ใบจักเป็นพู 3-8 คู่ กว้างได้ถึง 25 ซม.
ยาวได้ถึง 30 ซม. พูรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 15 ซม. พูปลายยาวกว่าพูข้าง ปลาย
เรียวแหลม โคนเชื่อมติดกันเป็นปีก แผ่นใบบาง เกลี้ยง กลุ่มอับสปอร์ติดระหว่าง
เส้นแขนงใบ เรียงแถวเดียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม.
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยส่วนมากพบทาง
ภาคเหนือ กระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ภาคตะวันออกที่
เขาใหญ่ จังหวัดปราจีนบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามป่าดิบเขา กูดฮ่อมใบขน: ใบรูปเงี่ยงลูกศร หรือจักข้างละพู โคนคอด แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม กลุ่มอับสปอร์เรียงแถวเดียว
ความสูง 1000-2300 เมตร (ภาพ: ภูหินร่องกล้า พิษณุโลก - TP)
กูดฮ่อมใบขน
Selliguea hirsuta (Tagawa & K. Iwats.) S. Linds.
ชื่อพ้อง Crypsinus hirsutus Tagawa & K. Iwats.
เฟินขึ้นบนก้อนหิน เหง้าเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. เกล็ดยาวประมาณ 4 มม.
ใบรูปเงี่ยงลูกศร หรือจักข้างละพู กว้างได้ถึง 21 ซม. ยาวได้ถึง 24 ซม. พูข้าง
รูปเคียว กว้าง 2-3 ซม. ยาวได้ถึง 12 ซม. ปลายแหลม พูปลายยาวได้ถึง 20 ซม.
โคนคอด แผ่นใบบาง ด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาวได้ถึง 12 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
หนาแน่น เส้นแขนงใบชัดเจน เส้นใบชัดเจนหรือไม่ชัดเจน กลุ่มอับสปอร์ติดระหว่าง
กูดฮ่อมใบเล็ก: ใบมี 2 แบบ ใบไม่สร้างสปอร์ขนาดเล็ก ก้านสั้น ใบสร้างสปอร์รูปใบหอก ก้านยาว ขอบใบหนา
เส้นแขนงใบเรียงแถวเดียว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. กลุ่มอับสปอร์เรียงแถวเดียว (ภาพ: ภูหลวง เลย - TP)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ เชียงราย ตาก พิษณุโลก
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตามโขดหินที่แห้งหรือที่ชุ่มชื้น ในป่าดิบเขา เกซอนลา
ความสูง 1000-1800 เมตร Clerodendrum quadriloculare (Blanco) Merr.
วงศ์ Lamiaceae
กูดฮ่อมใบเล็ก ชื่อพ้อง Ligustrum quadriloculare Blanco
Selliguea rhynchophylla (Hook.) Fraser-Jenk. ไม้พุ่ม สูง 2-5 ม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 15-20 ซม. แผ่นใบด้านล่าง
ชื่อพ้อง Polypodium rhynchophyllum Hook., Crypsinus rhynchophyllus สีม่วงแดงอมเขียว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง หลอด
(Hook.) Copel. กลีบเลี้ยงยาว 0.7-1 ซม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-5 มม.
เฟินอิงอาศัย เหง้าเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มม. เกล็ดยาวประมาณ 5 มม. สีม่วงอมแดง ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม หลอดกลีบดอกยาว 7-10 ซม. ด้านนอก
ใบไม่สร้างสปอร์รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2-3.5 ซม. โคนและปลายแหลม สีชมพูอมแดง ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 1-1.5 ซม. ด้านนอกสีขาว
ก้านยาว 0.5-2 ซม. ใบสร้างสปอร์รูปใบหอก ยาว 5-14 ซม. ช่วงกว้างอยู่เหนือ อมชมพู ด้านในสีขาว กลีบค่อนข้างหนา เกสรเพศผู้ 4 อัน ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก
โคนเล็กน้อย ช่วงมีสปอร์เรียวแคบ โคนรูปลิ่ม ก้านยาว 1.5-5 ซม. เส้นแขนงใบ ผลรูปไข่ สุกสีม่วงอมด�า กลีบเลี้ยงสีแดง มี 4 ไพรีน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ นางแย้ม, สกุล)
ไม่ชัดเจน แผ่นใบและขอบหนา เกลี้ยง สีน�้าตาลเข้มหรือด�า กลุ่มอับสปอร์ติด มีถิ่นก�าเนิดที่ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยปลูกเป็นไม้ประดับ โดยเฉพาะทาง
ระหว่างเส้นแขนงใบ เรียงแถวเดียว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 มม. ภาคเหนือที่มีอากาศเย็น ไม่ติดผล ขยายพันธุ์ด้วยไหล ใบมีสรรพคุณใช้สมานแผลสด
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคเหนือ แผลน�้าร้อนลวก
ที่เชียงใหม่ พิษณุโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ เอกสารอ้างอิง
จันทบุรี และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ส่วนมากขึ้นตามต้นไม้ที่มีมอส Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
ปกคลุมในป่าดิบเขา ความสูง 1200-1700 เมตร Press, Honolulu, Hawai`i.
64
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 64 3/1/16 5:14 PM