Page 92 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 92
ขมิ้นต้น
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ภาษาละติน “pileus” หรือ “pilleus” หมวก หรือภาษากรีก “pilos” หมวก ตาม ขมิ้นฤาษี
ลักษณะดอกเพศเมีย หรือกลีบเลี้ยงที่หุ้มผล
Tinomiscium petiolare Hook. f. & Thomson
เอกสารอ้างอิง วงศ์ Menispermaceae
Chen, J., and A.K. Monro. (2003). Urticaceae. In Flora of China Vol. 5: 119.
ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ แยกเพศต่างต้น น�้ายางสีขาว กิ่งอ่อนมีริ้วและ
ขนสั้นนุ่มหนาแน่น ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายแหลมยาว
โคนมน กลม หรือเว้าตื้น แผ่นใบมีริ้วละเอียดด้านบน เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น
ก้านใบยาว 6-20 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะออกหนาแน่นตามกิ่งหรือล�าต้น
ยาว 5-35 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 2.5-5 มม. กลีบเลี้ยง 9 กลีบ
เรียง 3 วง วงนอกขนาดเล็ก วงในรูปรี ยาว 4-5 มม. พับงอกลับ กลีบดอก 6 กลีบ
รูปรี ยาว 2.5-3.5 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน สั้นกว่ากลีบดอก แกนอับเรณูหนา เป็นหมัน
ในดอกเพศเมีย รูปแถบ ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ มี 3 คาร์เพล แยกกัน
ยอดเกสรจักหลายพูสั้น ๆ เป็นหมันในดอกเพศผู้ ผลผนังชั้นในแข็ง มี 3 ผลย่อย
รูปรี ยาวได้ถึง 4 ซม. ติดบนแกนหนา (carpophore) สีเขียวเป็นมันวาว แก่สีขาว
หรือเหลือง ผนังชั้นในย่น ยาว 2-2.5 ซม. มีเมล็ดเดียว แบน
พบที่จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และนิวกินี ในไทยพบทาง
ภาคเหนือกระจายลงทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูง
ถึงประมาณ 1300 เมตร น�้ายางใช้ทาแก้ปวดข้อ กล้ามเนื้อ ผลใช้เบื่อปลา
ขมหิน: ล�าต้นอวบน�้า ช่อดอกแบบช่อกระจุกอัดแน่นออกตามซอกใบ (ภาพซ้าย: กรุงเทพฯ - RP); สะระแหน่ประดับ:
ไม้พุ่มทอดเลื้อย (ภาพขวาบน: cultivated - RP); นกกระทา: ใบมีปื้นขาว (ภาพขวาล่าง: cultivated - RP)
สกุล Tinomiscium Miers ex Hook. f. & Thomson อาจมีเพียงชนิดเดียว หรือ
ขมิ้นต้น มีได้ถึง 7 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “tinus”
Mahonia duclouxiana Gagnep. พืช และภาษากรีก “mischos” ลำาต้น หมายถึงพืชที่ออกดอกตามลำาต้น
วงศ์ Berberidaceae เอกสารอ้างอิง
ชื่อพ้อง Mahonia siamensis Takeda ex Craib Forman, L.L. (1991). Menispermaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 303-306.
Hu, Q., X. Luo, T. Chen and M.G. Gilbert. (2008). Menispermaceae. In Flora of
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. เนื้อไม้สีเหลือง ใบประกอบยาว 20-70 ซม. ใบย่อยมี 4-9 คู่ China Vol. 7: 6.
รูปขอบขนานแกมรูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 4-15 ซม. โคนกลม เบี้ยว ขอบจักซี่ฟัน
ห่าง ๆ ปลายจักแหลมคล้ายหนาม ไร้ก้าน ใบปลายก้านยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง มีหลายช่อ ยาวได้ถึง 30 ซม. ใบประดับรูปใบหอก
ยาว 2-3.5 ซม. ดอกสีเหลือง ก้านดอกยาว 3-6 มม. ใบประดับย่อยยาว 3-7 มม.
กลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก มี 9 กลีบ เรียง 3 วง วงนอกสั้นกว่าวงใน วงในยาวได้ถึง
8 มม. กลีบดอก 6 กลีบ รูปรีปลายมน ยาว 5-8 มม. โคนมีต่อม เกสรเพศผู้ 6 อัน
ติดตรงข้ามกลีบดอก ยาว 3.5-5.5 มม. อับเรณูมีรยางค์ ก้านเกสรเพศเมียยาว
2-3 มม. ติดทน ผลสด มีนวล สุกสีม่วงเข้ม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 มม. มี 4-7 เมล็ด
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า และทางภาคเหนือของไทยที่แม่ฮ่องสอน และ
เชียงใหม่ ขึ้นตามป่าดิบเขา หรือที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1000-2200 เมตร ขมิ้นฤๅษี: ไม้เถาเนื้อแข็งขนาดใหญ่ ช่อดอกแบบช่อกระจะออกหนาแน่นตามล�าต้น ผลมี 3 ผลย่อย ผลอ่อนสีเขียว
เป็นมันวาว (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - MB)
สกุล Mahonia Nutt. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Berberidoideae มีประมาณ 60 ชนิด พบ
ในอเมริกาและเอเชีย หลายชนิดเป็นไม้ประดับ และผลหลายชนิดกินได้ ในไทยมี ขยัน
ชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพืชสวนชาวไอริช Bernard M’Mahon (1775-1816) Lysiphyllum strychnifolium (Craib) A. Schmitz
เอกสารอ้างอิง วงศ์ Fabaceae
Ahrendt, L.W.A. (1961). Berberis and Mahonia a taxonomic revision. Journal of ชื่อพ้อง Bauhinia strychnifolia Craib
the Linnean Society, Botany. London 57: 322.
Ying, J., D.E. Boufford and A.R. Brach. (2011). Berberidaceae. In Flora of China ไม้เถา ยาวได้ถึง 5 ม. มีมือจับ ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 4-15 ซม.
Vol. 19: 775. ปลายแหลมยาว โคนกลมหรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ 3-5 เส้น คู่ล่างออก
ชิดโคน ปลายโค้งจรดกัน ก้านใบยาว 2-3.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตาม
ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 1 ม. ใบประดับรูปลิ่มติดทน ยาวได้ถึง 1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยง
สีชมพูอ่อนหรือแดง รูปถ้วย ยาว 0.5-1 ซม. ดอกสีแดงถึงแดงเข้ม กลีบรูปไข่กลับ
ยาว 1.2-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูสีแดง ยื่นพ้นหลอดกลีบดอก
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน ยาวไม่เท่ากัน รังไข่มีขนสั้น ก้านเกสรเพศเมียยาว
ประมาณ 7 มม. ยอดเกสรเพศเมียไม่ชัดเจน ฝักรูปใบหอก ยาว 15-16 ซม. ปลาย
มีจะงอย มี 8-9 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อรพิม, สกุล)
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นหนาแน่น
หรือกระจายห่าง ๆ ในป่าเบญจพรรณหรือที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร
ในทางสมุนไพรรู้จักกันในชื่อย่านางแดง เนื่องจากมีสรรพคุณคล้ายกับ ย่านาง
Tiliacora triandra (Colebr.) Diels ใช้ถอนพิษ แก้ไข้
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K. and S.S. Larsen. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. In Flora of
ขมิ้นต้น: ใบประกอบ ขอบใบจักแหลม ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง มีหลายช่อ กลีบเลี้ยงคล้ายกลีบดอก Thailand Vol. 4(1): 24.
เรียงเป็นวง ผลมีนวล (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่; ภาพดอก - SSi, ภาพผล - NP)
72
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 72 3/1/16 5:17 PM