Page 96 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 96
ข่าดง ข่าดง สารานุกรมพืชในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง
Hedychium coccineum Buch.-Ham. ex Sm. Chaveerach, A., P. Mokkamul, R. Sudmoon and T. Tanee. (2008). A new species
of Alpinia Roxb. (Zingiberaceae) from northeastern Thailand. Taiwania,
วงศ์ Zingiberaceae 53(1): 1-5.
ไม้ล้มลุก สูง 1-2 ม. ลิ้นใบยาวประมาณ 2 ซม. โคนสีม่วง ใบรูปใบหอก ยาว
30-45 ซม. แผ่นใบด้านล่างมักมีสีม่วง เส้นกลางใบมีขน ไร้ก้าน ช่อดอกยาว
20-25 ซม. แต่ละใบประดับมี 5-6 ดอก มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับวงนอกเป็นหลอด
ยาว 3.5-4 ซม. ใบประดับวงในรูปขอบขนาน ยาว 2-2.5 ซม. ปลายจัก 3 พูตื้น ๆ
ใบประดับย่อยยาวประมาณ 1.5 ซม. ดอกสีส้มอมแดง ยาว 4-5 ซม. หลอดกลีบเลี้ยง
ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลีบดอกรูปแถบ ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลีบปากยาว
1.5-2 ซม. ปลายแฉกลึก ก้านกลีบยาวประมาณ 1 ซม. แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
ด้านข้างยาวประมาณ 4 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 5-6 ซม. อับเรณูยาว 7-8 มม. รังไข่
มีขนคล้ายไหม ผลเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. เมล็ดสีแดง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
ตาเหิน, สกุล) ข่าทราย: ช่อกระจุกแยกแขนงออกที่ยอด ตั้งขึ้น ๆ กลีบปากสีเหลือง มีปื้นแดงกลางกลีบ แผ่นกลีบรูปสามเหลี่ยม
แฉกลึกเกือบจรดโคน แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่กลับ มีจุดแดงกระจาย ปลายจัก (ภาพ: บึงกาฬ - MP)
พบที่ อินเดีย ศรีลังกา เนปาล จีนตอนใต้ พม่า และภาคเหนือของไทยที่เชียงใหม่
และแม่ฮ่องสอน ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 1000-1600 เมตร เป็นไม้ประดับ ขานาง, สกุล
Homalium Jacq.
เอกสารอ้างอิง
Sabu, M. (2006). Zingiberaceae and Costaceae of south India. Kerala, India. วงศ์ Salicaceae
Indian Association for Angiosperm Taxonomy, Calicut University. ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใบเรียงเวียน หูใบร่วงเร็ว ขอบใบส่วนมากจักฟันเลื่อยเป็นต่อม
Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 375. ช่อดอกแบบช่อแขนงหรือลดรูปคล้ายช่อกระจะ ใบประดับขนาดเล็ก กลีบดอก
เชื่อมติดกัน มี 5-12 กลีบ บางครั้งขยายในผล กลีบดอกคล้ายกลีบเลี้ยง ติดที่
ขอบหลอดกลีบเลี้ยงระหว่างกลีบ บางครั้งขยายในผล จานฐานดอกเป็นต่อม
แต่ละต่อมติดตรงข้ามกลีบเลี้ยง มีขน เกสรเพศผู้ติดเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก
ระหว่างต่อมจานฐานดอก อับเรณูกลมขนาดเล็ก ติดด้านหลัง รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ
มีช่องเดียว พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ 2-8 แนว ก้านเกสรเพศเมีย 2-8 อัน ยอดเกสร
เป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 2-8 ซีก ขนาดเล็ก มีกลีบเลี้ยงหุ้ม
สกุล Homalium เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Flacourtiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย
Salicoideae มีประมาณ 150 ชนิด ในไทยมี 12 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“homalos” เท่ากัน ตามจำานวนกลีบเลี้ยงที่เท่ากับกลีบดอก และคล้ายกัน
ขานาง
Homalium tomentosum (Vent.) Benth.
ข่าดง: ใบเรียงสลับระนาบเดียว ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อเชิงลดออกที่ยอด ใบประดับวงนอกเป็นหลอด ดอกสีส้มอมแดง ชื่อพ้อง Blakwellia tomentosa Vent.
ปลายแฉกลึก (ภาพ: เชียงดาว เชียงใหม่ - PK)
ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 40 ม. ล�าต้นเปลาตรง เปลือกเรียบ กิ่งอ่อนมีขนสั้นนุ่ม
ข่าทราย ใบรูปไข่กลับ ยาว 10-25 ซม. ปลายมนมีติ่งแหลม แผ่นใบด้านบนมีขนสั้นสาก
Alpinia macrostaminodia Chaveer. & Sudmoon ด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบยาวประมาณ 5 มม. ดอกออกเป็นกระจุกสั้น ๆ เรียงเวียน
วงศ์ Zingiberaceae บนแกนช่อ ห้อยลง ยาว 10-35 ซม. แต่ละกระจุกมี 2-5 ดอก ไร้ก้าน มีกลิ่นเหม็น
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5-6 กลีบ หลอดกลีบเลี้ยงรูปกรวย เชื่อมติด
ไม้ล้มลุก เหง้าสั้น ล�าต้นสูงได้ถึง 1.8 ม. ลิ้นใบคล้ายกาบ ยาว 5-6 มม. ใบเรียง รังไข่เกินกึ่งหนึ่ง กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนคล้ายขนแกะ
สลับระนาบเดียว มี 5-10 ใบ รูปขอบขนาน ยาว 16-28 ซม. ใบช่วงโคนและปลาย เกสรเพศผู้ 5-6 อัน ก้านชูอับเรณูเกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย 2-3 อัน สั้นกว่ากลีบเลี้ยง
ขนาดเล็ก ปลายกลมมีติ่งแหลม โคนกลมหรือรูปลิ่ม แผ่นใบมีขนตามเส้นกลางใบ และกลีบดอก ติดทน ผลรูปกรวยกลับ กลีบเลี้ยงขยายคล้ายปีก
และขอบใบ ไร้ก้านหรือมีก้านยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
ออกที่ยอด ตั้งขึ้น ยาว 12-30 ซม. ก้านช่อดอกยาว 5-15 ซม. ใบประดับรูปใบหอก พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม
หรือรูปแถบ ยาว 1-1.8 ซม. แต่ละใบประดับมี 2-3 ดอก ใบประดับย่อยรูประฆัง ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น เขาหินปูน ความสูง 100-350 เมตร
ยาว 0.7-1 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยก 3 แฉก ดอกสีขาว เอกสารอ้างอิง
กลีบดอกและหลอดกลีบยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง กลีบหลังรูปขอบขนาน ยาว 1.3-1.5 ซม. Harwood, B. (2015). Salicaceae. In Flora of Thailand Vol. 13(1): 37-49.
กลีบคู่ข้างสีเหลืองมีปื้นแดง กลีบปากสีเหลือง กลางกลีบมีปื้นและเส้นกลีบสีแดง Sleumer, H. (1985). The Flacourtiaceae of Thailand. Blumea 30: 220-221.
แผ่นกลีบรูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแฉกลึกเกือบจรดโคน
แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปไข่กลับ มีจุดสีแดงกระจาย ปลายจัก ยาวประมาณ
1 ซม. เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม. รังไข่มีขนสั้นนุ่ม
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า หรือลาน
หินทรายใกล้แหล่งน�้า ในป่าเต็งรัง ความสูง 200-300 เมตร
สกุล Alpinia Roxb. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Alpinioideae มีประมาณ 200 ชนิด พบ
ในเอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยเป็นพืชพื้นเมืองประมาณ 18
ชนิด เป็นไม้ต่างประเทศหลายชนิด รวมถึงข่า A. galanga (L.) Willd. หลายชนิด
พบเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Prospero Alpino ขานาง: ล�าต้นเปลาตรง เปลือกเรียบ ช่อดอกห้อยลง ดอกออกเป็นกระจุกสั้น ๆ เรียงเวียนบนแกนช่อ (ภาพ:
(1553-1617) สระบุรี - RP)
76
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 76 3/1/16 5:18 PM