Page 100 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 100

ขี้กา, สกุล ขี้กา   สารานุกรมพืชในประเทศไทย            พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย และ
                Trichosanthes L.                                     หมู่เกาะโซโลมอน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึงประมาณ
                วงศ์ Cucurbitaceae                                   1700 เมตร แยกเป็น var. roseipulpa W. J. de Wilde & Duyfjes เนื้อเยื่อในผล
                                                                     สีส้มอมแดง พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน
                   ไม้เถา ส่วนมากแยกเพศต่างต้น มักมีใบประดับที่โคนช่อดอก (probract)
                มือจับส่วนมากแยกแขนง ใบเรียบ จักเป็นพู หรือมี 3-5 ใบย่อย แผ่นใบมีต่อมกระจาย   ขี้กาแดง
                ช่อดอกเพศผู้มีดอกเดียวหรือแบบช่อกระจะ ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ คล้ายดอกเพศผู้   Trichosanthes inthanonensis Duyfjes & Pruesapan
                ก้านดอกขยายในผล กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 5 กลีบ กลีบดอกจักชายครุย
                รูปเส้นด้าย เกสรเพศผู้ 3 อัน ติดใกล้ปากหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู  ไม้เถา ยาวได้ถึง 25 ม. ล�าต้นช่วงปลายสีแดงอมม่วง มือจับแยก 2-5 แขนง
                ติดกัน จานฐานดอกจักรูปแถบ 3 พู รังไข่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว พลาเซนตาตาม  ใบประดับที่โคนช่อดอกรูปไข่ ยาว 3-8 มม. สีเขียว มีต่อม ใบรูปรีกว้าง จักตื้น ๆ
                แนวตะเข็บ 3 แนว ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรแฉกลึก   3-5 พู ยาว 12-24 ซม. ขอบจักฟันเลื่อยห่าง ๆ ก้านใบยาว 5-9 ซม. ช่อดอก
                3-5 แฉก ผลสดมีหลายเมล็ด เนื้อข้างในส่วนมากสีด�าอมเขียว รสขม ถ้าสีขาวหรือแดง  ยังไม่เคยพบ ผลรูปไข่ ยาว 6-8 ซม. เนื้อด้านในสีด�าอมเขียว ปลายผลเป็นจะงอยสั้น ๆ
                ไม่ขม เมล็ดจ�านวนมาก ส่วนมากแบน                      ก้านผลยาว 3-6.5 ซม. เมล็ดเบี้ยว ยาว 1.3-1.6 ซม. ขอบมีสัน
                                                                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ดอยภูคา
                   สกุล Trichosanthes มีประมาณ 100 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน   จังหวัดน่าน และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง
                   ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 18 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก   1300-1700 เมตร
                   “trichos” ขน และ “anthos” ดอก ตามลักษณะชายครุยของกลีบดอก
                                                                     ขี้กาแดง
                ขี้กา
                Trichosanthes tricuspidata Lour.                     Trichosanthes pubera Blume subsp. rubriflos (Cayla) Duyfjes &
                                                                         Pruesapan
                   ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 ม. มือจับแยก 2-3 แขนง ใบประดับที่โคนช่อดอกรูปไข่กลับ   ชื่อพ้อง Trichosanthes rubriflos Cayla
                ยาวประมาณ 1 ซม. ใบรูปไข่กว้าง ยาว 7-15 ซม. จัก 3-5 พู แผ่นใบสากด้านบน
                ก้านใบยาว 3-7.5 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยาว 7-16 ซม. ใบประดับรูปไข่กลับ ยาว 1.5-4 ซม.   ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นตามกิ่ง ใบประดับนอก แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก
                ชายครุยมีต่อมกระจาย ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 3-5 มม. ฐานดอกยาว 3-5 ซม.   และรังไข่ มือจับแยก 2-3 แขนง ใบประดับที่โคนช่อดอกรูปใบหอกหรือรูปแถบ
                กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 1-1.5 ซม เรียบ หรือจักตื้น ๆ ดอกสีขาว ยาวประมาณ   ยาว 1-5 ซม. ใบรูปไข่กว้างหรือจักลึก 3-5 พู ยาว 3-15 ซม. โคนเว้าลึก ขอบจัก
                1.5 ซม. ชายครุยยาวได้ถึง 2 ซม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. ผลรูป  ฟันเลื่อย แผ่นใบสากด้านบน ก้านใบยาว 5-11 ซม. ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 22 ซม.
                ไข่กว้าง ยาว 6-7 ซม. เนื้อด้านในสีด�าอมเขียว         ใบประดับสีแดงอมน�้าตาล รูปไข่กลับ ยาว 2.5-4.5 ซม. ขอบจัก มีต่อมกระจาย
                                                                     ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 2-6 มม. ฐานดอกยาว 2-5.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก
                   พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า   ยาว 0.7-2.3 ซม ดอกสีขาวมีเส้นกลีบสีแดงหรือชมพู ยาว 2-3 ซม. ชายครุยยาว
                เขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร ชนิดย่อย subsp. javanica Duyfjes   ประมาณ 1 ซม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม. ผลรูปรีกว้าง ยาว 5-8 ซม.
                & Pruesapan ใบประดับจักห่าง ๆ ขอบกลีบเลี้ยงเรียบ แยกเป็น var. flavofila   เนื้อด้านในสีด�าอมเขียว
                W. J. de Wilde & Duyfjes ชายครุยสีเหลือง พบเฉพาะที่แก่งกระจาน จังหวัด
                เพชรบุรี รากและผลมีสรรพคุณเป็นยาระบาย และมีพิษต่อสัตว์เลี้ยง   พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค
                                                                     ขึ้นตามที่โล่ง และชายป่า ความสูงถึงประมาณ 1700 เมตร แยกเป็น var. fissisepala
                ขี้กากอน                                             Duyfjes & Pruesapan กลีบเลี้ยงในดอกเพศผู้จักลึก ส่วน subsp. pubera
                                                                     พบเฉพาะในภูมิภาคมาเลเซีย ช่อดอกเพศผู้มีใบประดับสีเขียว และดอกสีขาว
                Trichosanthes quinquangulata A. Gray
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                   ไม้เถา ยาวได้ถึง 20 ม. มือจับแยก 2-5 แขนง ใบประดับโคนช่อดอกรูปขอบ  de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2008). Cucurbitaceae. In Flora of
                ขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 0.8-1.5 ซม. ใบรูปรีกว้าง ยาว 8-20 ซม. จักตื้น ๆ หรือ  Thailand Vol. 9(4): 514-540.
                จักลึก 3-5 พู โคนแฉกลึก แผ่นใบสากด้านบน ก้านใบยาว 2.5-10 ซม. ช่อดอกเพศผู้
                ยาว 10-30 ซม. ใบประดับรูปไข่กลับ ยาว 1.5-2.5 ซม. มีต่อมใกล้เส้นกลางกลีบ
                ก้านดอกยาว 0.2-1 ซม. ฐานดอกยาว 3-5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมแคบ
                ยาว 1-1.5 ซม. จักตื้น ๆ ใกล้โคน ดอกสีขาว ยาวประมาณ 2 ซม. ชายครุยยาว
                1-1.5 ซม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 0.5-2 ซม. ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 ซม.
                เนื้อด้านในสีด�าอมเขียว
                   พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและภูมิภาคมาเลเซีย นิวกินี ในไทยพบ
                ทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า บนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                เมล็ดบดเป็นผงแก้ปวดท้อง น�้ามันจากเมล็ดแก้คัน
                                                                       ขี้กา: ใบจัก 3-5 พู ใบประดับขอบจักชายครุย มีต่อมกระจาย (ภาพดอก: มุกดาหาร - RP; ภาพผล: สตูล - PK)
                ขี้กาขาว
                Trichosanthes pilosa Lour.

                   ไม้เถา ยาวได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก และรังไข่
                มือจับแยก 2-3 แขนง ไม่มีใบประดับที่โคนช่อดอก ใบรูปไข่กว้างหรือจัก 3-5 พู
                ยาว 10-25 ซม. ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย มีต่อมเล็กน้อย ก้านใบยาว 3-7 ซม.
                ช่อดอกเพศผู้ยาว 10-25 ซม. ใบประดับรูปไข่กลับหรือรูปขอบขนาน ยาว 0.6-2 ซม.
                ขอบจักซี่ฟัน ก้านดอกยาว 0.3-2.5 ซม. ฐานดอกยาว 1.5-4.5 ซม. กลีบเลี้ยง
                รูปสามเหลี่ยม ยาวได้ถึง 1.5 ซม ขอบเรียบ ดอกสีขาว กลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข่
                ยาวประมาณ 1 ซม. ชายครุยยาว 0.7-1.7 ซม. ดอกเพศเมียก้านดอกยาวประมาณ
                1 ซม. ผลรูปรีแคบ ยาว 4-6 ซม. มีแถบสีจาง เนื้อเยื่อด้านในสีขาวหรือส้มอมแดง  ขี้กาขาว: ใบจักลึกเป็นพู ผลรูปรีแคบ (ภาพซ้าย: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP); ขี้กากอน: ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ
                                                                     กลีบดอกจักชายครุยรูปเส้นด้าย (ภาพขวา: เขานิพันธ์ สุราษฎร์ธานี - RP)

                80






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   80                                                                  3/1/16   5:18 PM
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105