Page 102 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 102

ขี้เหล็ก
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                ดอกสีครีม หลอดกลีบดอกยาว 0.5-1 ซม. มี 4-5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาว 3-4 มม.   ขี้เหล็กยะวา
                เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ติดเหนือกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น จุดติดมีขน จานฐานดอก  Senna fruticosa (Mill.) H. S. Irwin & Barneby
                รูปเบาะ ติดทน รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ ช่วงล่างมี 3 ช่อง ช่วงบน 1 ช่อง ออวุล 3 เม็ด   ชื่อพ้อง Cassia fruticosa Mill.
                พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียมี 2 แบบ สั้นกว่าหรือยาวเท่า ๆ หลอด
                กลีบดอก ยอดเกสรจัก 3 พู ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี ยาว 0.7-1 ซม. สุกสีเหลือง   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. หูใบขนาดเล็ก ใบประกอบมีใบย่อย 2 คู่ แกนกลางยาว
                   พบที่อินเดีย บังกลาเทศ ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยส่วน  1-2.5 ซม. มีต่อมระหว่างใบคู่ล่าง ก้านใบยาว 2-5 ซม. ใบย่อยรูปไข่ เบี้ยว ยาว
                                                                     4-15 ซม. คู่บนขนาดใหญ่กว่าคู่ล่าง ปลายแหลม โคนสอบ แผ่นใบมีขนด้านล่าง
                มากพบทางภาคเหนือ กระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้   ก้านใบสั้น ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ จรดปลายกิ่งด้านข้าง ก้านดอกยาว 3-5 มม.
                ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูง 300-2000 เมตร  กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีเหลืองซีด กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 2-3 ซม.

                   สกุล Schoepfia Schreb. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Olacaceae มีประมาณ 30 ชนิด   เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 3-4 มม. 4 อัน ก้านชูอับเรณูหนา อับเรณูโค้ง
                   พบในอเมริกาเขตร้อน และเอเชีย ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ S. jasminodora   ยาว 0.7-1 ซม. ลดรูป 2-3 อัน รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ฝักรูปทรงกระบอก ขอบเป็นสัน
                   Siebold & Zucc. ดอกไร้ก้าน ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน   ยาว 15-25 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. เมล็ดมีเยื่อหุ้มเหนียว
                   Johann David Schoepf (1752-1800)                    มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางและหมู่เกาะอินดีสตะวันตก เป็นไม้ประดับ

                  เอกสารอ้างอิง
                   Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2003). Olacaceae. In Flora of China Vol. 5: 202-203.  ขี้เหล็กเลือด
                                                                     Senna timoriensis (DC.) H. S. Irwin & Barneby
                                                                      ชื่อพ้อง Cassia timoriensis DC.
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นนุ่มกระจาย หูใบรูปติ่งหู ยาว 1.5-2 ซม.
                                                                     ใบประกอบมีใบย่อย 10-20 คู่ แกนกลางยาว 20-30 ซม. ก้านใบยาว 1-2 ซม.
                                                                     ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2-6 ซม. ปลายมีติ่งแหลม โคนกลม ช่อดอก
                                                                     แบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาว 10-30 ซม. ใบประดับรูปไข่
                                                                     ยาวประมาณ 2.5 ซม. ก้านดอกยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไข่
                                                                     ปลายกลม ยาว 0.7-1.5 ซม. มีขนด้านนอก กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 ซม.
                                                                     เกสรเพศผู้อันยาว 2 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-4 มม. อับเรณูยาว 0.8-1 ซม. อันสั้น
                  ขี้หนอน: ช่อดอกคล้ายช่อกระจะสั้น ๆ กลีบเลี้ยงขนาดเล็กขอบเรียบ กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบรูป  5 อัน อับเรณูสั้นกว่าเล็กน้อย ลดรูป 3 อัน รังไข่เกลี้ยง ฝักรูปแถบ แบน ยาว
                สามเหลี่ยม มี 4-5 กลีบ เกสรเพศผู้ติดเหนือกลีบดอก ปลายผลมีจานฐานดอกติดทน (ภาพ: อุ้มผาง ตาก - MP)
                                                                     8-16 ซม. ปลายมีจะงอย มี 10-30 เมล็ด
                ขี้เหล็ก, สกุล                                         พบที่อินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และออสเตรเลีย ในไทยพบ
                Senna Mill.                                          ทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณที่มีหินปูน ป่าเต็งรัง ป่าชายหาด หรือชายป่า ความสูง
                วงศ์ Fabaceae                                        ถึงประมาณ 1000 เมตร
                   ไม้ล้มลุก ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น หูใบส่วนมากร่วงเร็ว ใบประกอบ แกนใบประกอบ  ขี้เหล็กอเมริกัน
                ส่วนมากมีต่อม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อกระจะ หรือแบบช่อเชิงหลั่น ใบประดับ  Senna spectabilis (DC.) H. S. Irwin & Barneby
                ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ ดอกส่วนมากสีเหลือง มี
                ก้านกลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณณยาวเท่า ๆ กัน อับเรณูเปิดเป็น 2 ช่อง หรือเปิด  ชื่อพ้อง Cassia spectabilis DC.
                เป็นแนวขนาดเล็ก รังไข่มี 1 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ผลเป็นฝัก กลม แบน เป็นเหลี่ยม   ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งแผ่ออก หูใบขนาดเล็ก รูปเคียว ใบประกอบมีใบย่อย
                หรือมีปีก แห้งแล้วไม่แตก หรือปริตามรอยประสาน         10-15 คู่ แกนกลางยาว 10-35 ซม. ก้านใบสั้น ใบย่อยรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว
                                                                     3-7 ซม. ปลายแหลมมีติ่ง โคนกลม แผ่นใบมีขนด้านล่าง ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง
                   สกุล Senna อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae แยกจากสกุล Cassia ที่ี  ส่วนมากยาว 20-30 ซม. หรือยาวได้ถึง 90 ซม. ใบประดับรูปไข่ ยาว 4-5 มม.
                   เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ขนาดไม่เท่ากัน มักบิดออกจากก้านเกสรเพศเมียคนละทาง   ก้านดอกยาว 2-3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กว้าง ยาว 5-7 มม. คู่นอกมีขน 3 กลีบใน
                   (enantiostylous) กลีบดอกไม่สมมาตร และไม่มีใบประดับย่อย มีประมาณ 260   ยาวกว่าเล็กน้อย เกลี้ยง กลีบดอกรูปไข่กว้าง ยาว 2-2.5 ซม. กลีบล่างรูปเคียว
                   ชนิด ในไทยเป็นพืชพื้นเมือง 3 ชนิด และไม้ต่างถิ่น 15 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษา  ขนาดใหญ่กว่า เกสรเพศผู้ 7 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 มม. ลดรูป 3 อัน รังไข่
                   อารบิค “sana” ที่ใช้เรียกพืชที่ใบและฝักมีคุณสมบัติเป็นยาระบาย ซึ่งหลายชนิด  เกลี้ยง ฝักคล้ายทรงกระบอก ยาว 18-25 ซม. มีผนังกั้นบาง ๆ มี 50-70 เมล็ด
                   มีสรรพคุณด้านนี้
                                                                       มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน เป็นไม้ประดับ
                ขี้เหล็ก                                              เอกสารอ้างอิง
                Senna siamea (Lam.) H. S. Irwin & Barneby              Chen, D., D. Zhang and K. Larsen. (2010). Fabaceae (Cassieae). In Flora of
                                                                          China Vol. 10: 28-31.
                  ชื่อพ้อง Cassia siamea Lam.                          Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หูใบรูปลิ่มแคบ ใบประกอบมีใบย่อย 7-15 คู่ แกนกลาง  In Flora of Thailand Vol. 4(1): 102-123.
                ยาว 10-35 ซม. ก้านใบสั้น ใบย่อยรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 3-7 ซม.
                ปลายกลมหรือเว้าตื้น มีติ่งแหลม โคนกลม แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ช่อดอก
                ออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 1 ม. ก้านดอกยาว 2-3 ซม. กลีบเลี้ยงคู่นอกยาวประมาณ
                5 มม. 3 กลีบใน ยาวประมาณ 9 มม. กลีบดอกรูปเกือบกลม ยาว 1.5-2 ซม.
                เกสรเพศผู้อันยาว 2 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 ซม. อับเรณูยาว 6-7 มม.
                อันสั้น 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-4 มม. อับเรณูยาว 5-6 มม. ลดรูป 3 อัน รังไข่
                มีขนสั้นนุ่ม ฝักรูปแถบ แบน ยาว 20-30 ซม. รอยเชื่อมเป็นสันนูน มี 20-30 เมล็ด
                   พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนมากขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ชายป่า ความสูง
                ระดับต�่า ๆ และปลูกเป็นไม้สองข้างถนน ใบและฝักมีพิษต่อสัตว์เลี้ยง ส่วนต่าง ๆ
                                                                      ขี้เหล็ก: ใบประกอบ ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ปลายและโคนใบกลม ฝักรูปแถบ แบน รอยเชื่อมเป็นสันนูน
                มีสรรพคุณแก้ปวดท้อง แก้ไอ ไข้มาลาเรีย และโรคเบาหวาน  (ภาพ: cultivated - RP)

                82






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   82                                                                  3/1/16   5:10 PM
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107