Page 95 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 95

ขางแดง                                                         สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ขางหัวหมู
                    Embelia tsjeriam-cottam (Roem. & Schult.) A. DC.
                    วงศ์ Primulaceae
                      ชื่อพ้อง Ardisia tsjeriam-cottam Roem. & Schult., Embelia villosa Wall.
                       ไม้พุ่มรอเลื้อย สูงได้ถึง 5 ม. แยกเพศต่างต้นแกมดอกสมบูรณ์เพศ มีขนสั้นนุ่ม
                    ตามกิ่งอ่อน ก้านใบ แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียน รูปรี
                    หรือรูปไข่กลับ ยาว 6-15 ซม. ขอบเรียบหรือจักซี่ฟันตื้น ๆ ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม.
                    ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกเป็นกระจุก 1-3 ช่อ ช่อดอกเพศผู้ยาว 4-13 ซม. บางครั้ง
                    แยกแขนง ช่อดอกเพศเมียยาว 1-7 ซม. ดอกสีเขียวอ่อนหรือขาว ก้านดอกยาว
                    1.5-2 ซม. กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนานขนาดเล็ก มีต่อมประปราย
                    ขอบมีขนครุย กลีบดอกเชื่อมติดกันที่โคน มี 4-5 กลีบ รูปขอบขนาน ยาวประมาณ
                    2.5 มม. ด้านในมีปุ่มและต่อมสีน�้าตาลด�ากระจาย พับงอกลับ เกสรเพศผู้ 4-5 อัน
                                                                          ขางนาง: แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบจ�านวนมากเรียงจรดกันเป็นเส้นขอบใน ช่อดอกแบบช่อกระจุก เกสรเพศผู้
                    ติดที่โคนกลีบดอก ยาวเท่า ๆ กลีบดอก อันที่เป็นหมันติดประมาณกลางกลีบดอก   เชื่อมติดกันเป็น 5 มัด (ภาพ: ยะลา - RP)
                    เกือบไร้ก้านชูอับเรณู รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียสั้น ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่าน
                    ศูนย์กลางประมาณ 4 มม. มีเมล็ดเดียว                  ขางหัวหมู
                       พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลังกา พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจาย  Miliusa velutina (Dunal) Hook. f. & Thomson
                    ห่าง ๆ ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบเขา ความสูงถึง  วงศ์ Annonaceae
                    ประมาณ 1300 เมตร ผลและเมล็ดบดใช้ถ่ายพยาธิ             ชื่อพ้อง Uvaria velutina Dunal, U. villosa Roxb.

                       สกุล Embelia Burm. f. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Myrsinaceae มีประมาณ 140 ชนิด   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบ ก้านใบ ก้านช่อ กลีบเลี้ยง และ
                       พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 13 ชนิด ชื่อ  กลีบดอกด้านนอก ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาว 8-30 ซม.
                       สกุลมาจากชื่อพื้นเมืองในศรีลังกา “aembelia” ที่ใช้เรียกพืชในสกุลนี้  โคนเว้าตื้น เบี้ยว ก้านใบยาว 2-7 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกออกตรงข้ามใบ
                                                                        หรือบนกิ่ง มี 3-6 ดอก ในแต่ละช่อ ห้อยลง ก้านช่อยาวได้ถึง 2.5 ซม. ใบประดับ
                      เอกสารอ้างอิง                                     ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 5-10 ซม. ฐานดอกมีขน กลีบเลี้ยงสีน�้าตาล มี 3 กลีบ
                       Larsen, K. and C.M. Hu. (1996). Myrsinaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(2):   รูปสามเหลี่ยมยาว 2-8 มม. กลีบดอกมี 6 กลีบ กลีบวงนอกสั้น คล้ายกลีบเลี้ยง
                          157-158.
                                                                        กลีบวงในสีน�้าตาลเหลืองอมเขียว รูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 1-1.8 ซม. พับงอกลับ
                                                                        มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงห่าง ๆ อับเรณูมีรยางค์สั้น ๆ เป็นติ่งแหลม
                                                                        คาร์เพลจ�านวนมาก มีขนสั้นนุ่ม ยอดเกสรเพศเมียรูปกระบอง ผลย่อยแยกกัน
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. ก้านยาว 5-8 มม. สุกสีแดงอมน�้าตาล มี 1-2 เมล็ด

                                                                           พบที่อินเดีย ปากีสถาน พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู
                                                                        ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึง
                                                                        ประมาณ 500 เมตร เปลือกเป็นยาระบาย
                                                                           สกุล Miliusa Lesch. ex A. DC. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Malmeoideae เผ่า Miliuseae
                                                                           พบในเอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก มีประมาณ 50 ชนิด ในไทย
                      ขางแดง: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกเป็นกระจุก 1-3 ช่อ ตามซอกใบ กลีบดอกด้านในมีปุ่มและต่อมสีน�้าตาลด�า
                    กระจาย (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวรตะวันออก ตาก - PK)          มีประมาณ 20 ชนิด ชื่อสกุลอาจตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอิตาลี Josephus
                                                                           Mylius หรือ Joannes Mylius หรือมาจากชื่อพื้นเมืองในอินเดีย
                    ขางนาง
                    Tristaniopsis merguensis (Griff.) Peter G. Wilson & J. T. Waterh.  เอกสารอ้างอิง
                                                                           Chaowasku, T. and P.J.A. Keßler. (2013). Phylogeny of Miliusa (Magnoliales:
                    วงศ์ Myrtaceae                                            Annonaceae: Malmeoideae: Miliuseae), with descriptions of two new species
                                                                              from Malesia. European Journal of Taxonomy 54: 1-21.
                      ชื่อพ้อง Tristania merguensis Griff.                 ________. (2013). Seven new species of Miliusa (Annonaceae) from Thailand.
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. เปลือกลอกเป็นแผ่น หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว   Nordic Journal of Botany 31(6): 680-699.
                    ใบรูปไข่ หรือรูปไข่กลับ ยาว 3-10 ซม. แผ่นใบหนา ด้านล่างมีต่อมกระจาย   Li, B. and M.G. Gilbert. (2011). Annonaceae. In Flora of China Vol. 19: 680.
                    เส้นแขนงใบจ�านวนมากเรียงจรดกันเป็นเส้นขอบใน ก้านใบยาว 2-3 มม. มีขน
                    ละเอียด ช่อดอกยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ 4 มม.
                    ก้านดอกยาวได้ถึง 2.5 มม. ก้านดอกเทียมยาวประมาณ 1 มม. ฐานดอกรูปกรวย
                    กลีบเลี้ยงขนาดเล็ก ดอกสีขาวหรืออมเหลือง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 มม.
                    เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน 5 มัด มัดละ 5-15 อัน ติดตรงข้ามกลีบดอก ก้านชูอับเรณู
                    ยาว 1-2.5 มม. โคนมีขน รังไข่มีขนสั้นนุ่มช่วงปลาย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
                    2 มม. ผลรูปรีกว้าง ยาว 1-1.2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก้าว, สกุล)
                       พบที่หมู่เกาะอันดามัน พม่า กัมพูชา เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และบอร์เนียว
                    ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคใต้
                    ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา หรือป่าพรุ ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร

                      เอกสารอ้างอิง
                       Ashton, P.S. (2005). New Tristaniopsis Peter G. Wilson & J. T. Waterh. (Myrtaceae)
                          from Borneo. Gardens’ Bulletin Singapore 57(2): 271-273.
                       Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.   ขางหัวหมู: ช่อดอกห้อยลง กลีบดอกด้านในขนาดใหญ่กว่ากลีบดอกด้านนอก ผลแบบผลกลุ่ม ก้านช่อยาว
                          7(4): 913-914.                                ผลย่อยมีก้าน สุกสีแดงอมน�้าตาล (ภาพดอก: สาละวิน แม่ฮ่องสอน - RP; ภาพผล: ท่าสองยาง ตาก - PK)

                                                                                                                      75






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   75                                                                  3/1/16   5:17 PM
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100