Page 109 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 109

คดนกกูด
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                        แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ยอดเกสรเพศเมียเรียบ ผลแห้งแตก บาง ยาว 3.2-5.5 ซม.
                                                                        ปีกกว้างประมาณ 2 ซม. เมล็ดสีด�า รูปรี ยาวประมาณ 5 มม. มีขน ขั้วเมล็ด
                                                                        ขนาดเล็ก ไม่มีเยื่อหุ้ม
                                                                           พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม
                                                                        ป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้งที่เป็นเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 600 เมตร
                                                                           สกุล Arfeuillea Pierre ex Radlk. มีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตาม Arfeuille เพื่อนของ
                                                                           Jean Baptiste Louis Pierre (1833-1905) นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส

                      ไข่นกกระทา: ช่อดอกสั้น ไร้ก้าน ผลแห้งแตก มีขนหนาแน่น เกสรเพศเมียติดทน มีปุ่มหูดหรือ gall ขนาดใหญ่ เบี้ยว   เอกสารอ้างอิง
                    (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - RP)                            van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 185.
                    ไข่มดหิน
                    Diplycosia heterophylla Blume var. latifolia (Blume) Sleumer
                    วงศ์ Ericaceae
                      ชื่อพ้อง Diplycosia latifolia Blume
                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 ม. ใบเรียงเวียน รูปไข่ รูปรี หรือรูปขอบขนาน ยาว 8-16 ซม.
                    แผ่นใบค่อนข้างหนา ก้านใบยาว 3-7 ซม. ดอกออกเป็นกระจุกตามซอกใบ
                    ก้านดอกยาว 5-7 มม. ใบประดับขนาดเล็กรูปสามเหลี่ยม 2 ใบ เชื่อมติดกัน กลีบเลี้ยง
                    5 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. ขยายในผล ดอกรูประฆัง สีเขียวอมชมพู
                    หลอดกลีบดอกยาว 4-6 มม. ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขนาดเล็ก ปลายพับงอกลับ
                    เกสรเพศผู้ 10 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 มม. ปลายอับเรณูยื่นยาวคล้ายหลอด
                    มีตุ่มกระจาย จานฐานดอกรูปถ้วย จักตื้น ๆ 10 พู รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมีย
                    ยาว 4-5 มม. ติดทน ผลแห้งแตก เปลือกบาง มีกลีบเลี้ยงสดหุ้ม เส้นผ่านศูนย์กลาง
                    ประมาณ 5 มม. เมล็ดขนาดเล็กจ�านวนมาก                   คงคาเดือด: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบเลี้ยงขนาดใหญ่กว่ากลีบดอก รังไข่มีขน ผลมีปีกบาง ๆ (ภาพดอก:
                                                                        เขางู เพชรบุรี - RP; ภาพผล: แก่งกระจาน เพชรบุรี - MP)
                       พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทาง
                    ภาคใต้ตอนล่างที่เบตง จังหวัดยะลา ขึ้นเกาะบนก้อนหินตามที่โล่งบนยอดเขา   คดนกกูด
                    ความสูง 700-1000 เมตร                               Aralidium pinnatifidum (Jungh. & de Vriese) Miq.

                       สกุล Diplycosia Blume อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Styphelioideae มีประมาณ 100 ชนิด   วงศ์ Torricelliaceae
                       ส่วนใหญ่พบในภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยมี 3 ชนิด พบเฉพาะทางภาคใต้ ชื่อสกุล  ชื่อพ้อง Aralia pinnatifida Jungh. & de Vriese
                       มาจากภาษากรีก “diplos” สองเท่า และ “kos” คลุม ตามลักษณะใบเชื่อมติดกัน  ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 17 ม. แยกเพศต่างต้น ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน รูปรี
                      เอกสารอ้างอิง                                     หรือรูปขอบขนาน ยาว 25-40 ซม. เรียบหรือแฉกลึกจรดเส้นกลางใบ ขอบเรียบ
                       Sleumer, H. (1972). Ericaceae. In Flora Malesiana Vol. 6: 738-740.  ก้านใบยาว 5-12 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ
                                                                        ใกล้ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 50 ซม. มีขนและปุ่มหนาแน่น ใบประดับขนาดเล็ก แต่ละ
                                                                        ช่อกระจุกย่อยมี 1-5 ดอก ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
                                                                        5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม ยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกเพศผู้และดอกเพศเมียคล้ายกัน
                                                                        เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่
                                                                        ใต้วงกลีบ มี 3 ช่อง 2 ช่องฝ่อ ออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียส่วนมาก 3 อัน
                                                                        กางออก สั้นกว่าก้านชูอับเรณู ผลสดมีเมล็ดเดียว รูปรี เบี้ยว ยาว 2.5-4 ซม. สีขาว
                                                                        เปลี่ยนเป็นสีม่วงด�า เนื้อหนา เมล็ดยาว 2-2.5 ซม. มีริ้ว เอนโดเสปิร์มย่น
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ของไทย ขึ้นตามริม
                                                                        ล�าธารหรือที่ลาดชันในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1250 เมตร

                                                                           สกุล Aralidium Miq. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Aralidiaceae หรือ Araliaceae มีชนิดเดียว
                                                                           ชื่อสกุลหมายถึงสกุลที่คล้ายกับสกุล Aralia
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Esser, H.J. and M. Jebb. (2005). Aralidiaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1): 7-9.
                      ไข่มดหิน: ช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ผลมีกลีบเลี้ยงสดหุ้ม เกสรเพศเมียติดทน (ภาพ: เบตง ยะลา - RP)
                                                                           Philipson, W.R. (1979). Araliaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 14-16.
                    คงคาเดือด
                    Arfeuillea arborescens Pierre
                    วงศ์ Sapindaceae
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. แยกเพศร่วมต้น มีขนรูปดาวเป็นมัดกระจาย เปลือกมี
                    ช่องอากาศ ใบประกอบมีใบย่อย 1-4 คู่ ก้านยาว 1-2 ซม. ใบย่อยรูปไข่ ยาว 2-7 ซม.
                    โคนเบี้ยว ขอบจักมน แผ่นใบมีขนยาวใกล้โคนเส้นกลางใบ ก้านใบยาวประมาณ
                    3 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ยาวได้ถึง 15 ซม. ช่อย่อยยาว 2-4 ซม.
                    ม้วนเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปรีถึงรูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 5.5-9 มม.
                    สีแดงอมเขียว ดอกสีขาว มี 2-4 กลีบ รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 3 มม. จานฐานดอก
                                                                          คดนกกูด: ช่อดอกแบบกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ใบแฉกลึกจรดเส้นกลางใบ ผลรูปรี เบี้ยวเล็กน้อย สุกสี
                    รูปคล้ายปาก เกสรเพศผู้ 6-9 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 5-9 มม. รังไข่มี 3 ช่อง มีขน   ม่วงด�า (ภาพ: เขาช่อง ตรัง - RP)

                                                                                                                      89






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   89                                                                  3/1/16   5:12 PM
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114