Page 17 - Sutthikan
P. 17
10
3.2 ความแข็งแรงแบบไม่อยู่กับที่ หมายถึง จ านวนความต้านทานที่บุคคลสามารถ
กระท าให้ผ่านพ้นไปได้ระหว่างการใช้แรงในขณะมีการเคลื่อนที่อย่างเต็มแรงของข้อต่อ
เฉพาะแห่งหรือข้อต่อหลายๆ แห่งของร่างกายรวมอยู่ด้วย เช่น การงอแขนยกบาร์เบล
ดังนั้นความแข็งแรงจึงเป็นการท างานของกล้ามเนื้อ เฉพาะส่วนหรือเฉพาะกลุ่ม
ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของแรงต้านทาน หมายถึงแรงต้านทานแบบอยู่กับที่หรือเคลื่อนที่
4. ความยืดหยุ่น
ความยืดหยุ่นหรือความอ่อนตัว หมายถึง ศักยภาพหรือความสามารถพื้นฐานของ
ข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้ตลอดระยะเวลาของการเคลื่อนที่ตามปกติ ความยืดหยุ่นจึงค่อนข้าง
เจาะจงลงที่ข้อต่อ ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของกล้ามเนื้อและเอ็นรอบๆ ข้อต่อนั้นมากกว่า
โครงสร้างของกระดูกข้อต่อเอง ยกเว้นกรณีที่เป็นโรคกระดูกเสื่อมหรือไม่สามารถท างาน
ได้ การเคลื่อนที่ของข้อต่อที่มากกว่าปกติคือความสามารถพิเศษที่เกิดจากการฝึกฝนของ
คนแต่ละคนเช่นท่าทางต่างๆ
3. ความส าคัญของการมีสมรรถภาพทางกายที่ดี
สมรรถภาพทางกายที่ดี เมื่อรวมเข้ากับการมีสุขภาพจิตที่ปกติมีการท างานของ
ระบบต่างๆ ในร่างกายที่เป็นปกติตลอดจนทรรศนะทางด้าน คุณธรรม หรือศีลธรรม อันดี
งามจะเป็นผลรวมให้ตัวบุคคลผู้นั้นเป็นประชากรที่มีคุณภาพ เป็นที่พึ่งปรารถนาของ
สังคมและประเทศชาติซึ่งเป็นเป้าหมายส าคัญในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลทุกระดับเรา
สามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า การมีสมรรถภาพทางกายที่ดีจะช่วยให้เกิดผล 3 ด้านได้แก่
1. ผลต่อสุขภาพทางร่างกาย
11. ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
- หัวใจมีขนาดใหญ่ขึ้นปริมาณการสูบฉีดโลหิตมีมากขึ้น
- กล้ามเนื้อหัวใจมีความแข็งแรงมีประสิทธิภาพ ในการท างานมากขึ้น