Page 65 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 65

โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                         สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)



                                     ผู้วางแผนสามารถก าหนดเป้าหมายของแผนงานได้จากข้อมูลที่มีอยู่แต่ก่อนที่จะ

                       ด าเนินการ ในขั้นตอนต่อไปเขาจะต้องมีการพิจารณาความสอดคล้องระหว่างเป้าหมายของแผนงาน
                       กับวัตถุประสงค์ขององค์การ ถ้าทั้งสองส่วนนี้ไม่มีความสอดคล้องกันก็จะต้องปรับปรุงให้มีทิศทางที่

                       เหมาะสม แต่โดยทั่วไปแล้วเป้าหมายของแผนทรัพยากรมนุษย์มักจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
                       โดยรวมขององค์การอยู่แล้ว เพื่อจะให้การด าเนินงานด้านทรัพยากรมนุษย์มีส่วนส่งเสริมต่อ

                       ความส าเร็จขององค์การ จากนั้นผู้วางแผนต้องท าการคาดการณ์อนาคตถึงความต้องการด้านบุคลากร

                       ขององค์การว่าองค์การจะมีความต้องการบุคลากรในสายงานใด ระดับใด และจ านวนเท่าใด ตลอดจน
                       พิจารณาว่าในแต่ละสายงานและระดับการบังคับบัญชาจะมีบุคลากรโยกย้ายเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง

                       เกษียณอายุ หรือเปลี่ยนแปลงในกรณีอื่น ๆ ในระยะเวลาและปริมาณเท่าใด เพื่อน าข้อมูลมาใช้เป็น

                       แนวทางในการจัดท าแผนทรัพยากรมนุษย์ที่ชัดเจน
                                 ขั้นตอนที่ 2 การสร้างแผน (Plan Formulation) ขั้นตอนนี้เป็นขั้นตอนที่ต่อเนื่องจาก

                       การเตรียมการ โดยผู้วางแผนจะท าการก าหนดแผนการที่จะปฏิบัติขึ้นมาอย่างชัดเจน ปกติการสร้าง

                       แผนจะประกอบด้วยขั้นตอนย่อย 3 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ (ดูรูปที่ 5)
                                       ก าหนดทางเลือก จากข้อมูลที่มีในขั้นตอนแรกผู้วางแผนจะต้องท าการ

                       ประมวลผลเพื่อก าหนดทางเลือกปฏิบัติต่าง ๆ ที่จะสามารถบรรลุเป้าหมายได้ โดยผู้วางแผนต้อง
                       พยายามสร้างทางเลือกที่เป็นไปได้มากที่สุด เพื่อที่จะใช้ประกอบการตัดสินใจให้ได้แนวทางปฏิบัติที่

                       เหมาะสมที่สุด

                                       เลือกทางเลือกที่เหมาะสม เมื่อได้ทางเลือกต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้เป็นแนวทาง
                       ปฏิบัติแล้ว ผู้วางแผนจะต้องท าการพิจารณาถึงข้อได้เปรียบและข้อจ ากัดของแต่ละทางเลือก เพื่อท า

                       การตัดสินใจคัดเลือกแนวทางที่เหมาะสม มาใช้เป็นแนวทางหลักในการจัดท าแผนการปฏิบัติต่อไป
                                       ก าหนดแผน ผู้วางแผนจะต้องท าการก าหนดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน ตลอดจน

                       ก าหนดการใช้ทรัพยากรและปัจจัยต่าง ๆ ที่จะสนับสนุนการด าเนินงานของแผนระยะเวลาและบุคคล

                       ผู้เกี่ยวข้อง และน ามาเขียนเป็นแผนการให้ชัดเจน เพื่อให้แผนการมีความรอบคอบและชัดเจนต่อการ
                       ปฏิบัติ ซึ่งจะส่งผลให้การด าเนินงานมีประสิทธิภาพและสอดคล้องกับความต้องการ



                                                               การปฏิบัติตามแผน
                                                           ก าหนดแผน

                                                       เลือกทางเลือกที่เหมาะสม

                                                    ก าหนดทางเลือก


                       ที่มา: it.nation.ac.th, ม.ป.ป., [ออนไลน์].




                       รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์     หน้า 63
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70