Page 68 - คู่มือหลักสูตรมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
P. 68
โครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์
มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
สาขาการบริหารโครงการสารสนเทศ (Project Management)
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ให้มีประสิทธิภาพมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการ
ประเมินผลการปฏิบัติงาน เพราะนอกจากจะสามารถน าผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินไปใช้ในการ
ปรับปรุงแผนการปฏิบัติในอนาคตแล้ว แผนบุคลากรยังเกี่ยวข้องโดยตรงกับบุคคลซึ่งถือเป็นปัจจัย
หลักทางการบริหารและเป็นปัจจัยส าคัญในการที่จะท าให้องค์การสามารถพัฒนาและเจริญเติบโตได้
อย่างมั่นคง โดยเราสามารถจัดขั้นตอนในการวางแผนซึ่งเริ่มตั้งแต่การเตรียมการ การสร้างแผน การ
ปฏิบัติ และการประเมินผลที่สามารถน ามาเขียนเป็นแผนการวางแผนเป็นกระบวนการต่อเนื่องมิใช่
การกระท าเพียงครั้งเดียวเสร็จ โดยที่ผู้วางแผนจะต้องท าการศึกษา วิเคราะห์ ปรับปรุง และพัฒนาให้
แผนมีความสมบูรณ์รัดกุม และทันสมัยอยู่เสมอ เนื่องจากการวางแผนจะเป็นการก าหนดแนวทาง
ปฏิบัติโดยอาศัยการคาดการณ์สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตเป็นแนวทาง แต่เป็นที่ทราบกันดีว่า
เหตุการณ์ในอนาคตเป็นเหตุการณ์ที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง ถึงแม้ผู้วางแผนจะพยายามรวบรวม ศึกษา และ
วิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้หลักวิชาการเข้าประกอบในการพยากรณ์แล้วก็ตาม การพยากรณ์นั้น
ก็ยังเป็นเรื่องที่เกี่ยวพันกับความไม่แน่นอนอยู่ดี ดังนั้นเมื่อเวลาผ่านไปจะท าให้ผู้วางแผนได้รับข้อมูล
ที่สามารถน ามาวิเคราะห์เพิ่มขึ้น ตลอดจนเหตุการณ์จะมีแนวโน้มที่ชัดขึ้น จึงต้องท าการปรับปรุงแผน
ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ มีผู้กล่าวว่า “แผนการที่ดีจะต้องมีความยืดหยุ่น สามารถปรับปรุง
ให้สอดคล้องกับแนวโน้มของสถานการณ์ เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
การคาดการณ์ความต้องการด้านทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ (adisonx.blogspot.com, 2555,
[ออนไลน์])
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพนั้น นักบริหารทรัพยากรมนุษย์จะต้องท าการ
คาดการณ์ความต้องการบุคลากรขององค์การในแต่ละช่วงระยะเวลาอย่างถูกต้อง โดยพิจารณาถึงการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ตั้งแต่การรับบุคลากรเข้าท างาน การฝึกอบรม และการพัฒนา การประเมินผล
จนกระทั่งบุคลากรได้พ้นออกจากองค์การ โดยวิธีการคาดการณ์ที่มีความแม่นย าสูง จะส่งผลให้การ
วางแผนมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และสามารถใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
หัวข้อนี้จะกล่าวถึงวิธีการที่ถูกน ามาใช้ในการคาดการณ์ความต้องการด้านทรัพยากรมนุษย์
ขององค์การ เพื่อให้ผู้สนใจได้มีความรู้ และความเข้าใจในหลักการคาดการณ์ความต้องการด้าน
ทรัพยากรมนุษย์ขององค์การ ตลอดจนสามารถประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
ส าหรับน าไปปฏิบัติการวางแผนบุคลากรได้อย่างเป็นรูปธรรมในการปฏิบัติงานจริง โดยที่วิธีการ
คาดการณ์ด้านก าลังคนขององค์การที่นิยมใช้มีดังต่อไปนี้
รายงานโครงการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์ หน้า 66