Page 94 - พท21001
P. 94

88


               เรื่องที่ 3 การเพิ่มพูนความรูและประสบการณทางดานภาษาไทย


                          เพื่อการประกอบอาชีพ

                                                                                     
                                                                                                        ี
                       ในการนําความรูทางภาษาไทย ทั้งทักษะการพูดและการเขียนไปใชในการประกอบอาชพ
                                                                                      ี
               นั้นเพียงการศึกษาในชั้นเรียนและตําราอาจจะยังไมเพียงพอ ผูประกอบอาชพตองเพิ่มพูนความรู
                                                                               ี
               และประสบการณดานภาษาและดานตาง ๆ เพื่อใหการประกอบอาชพประสบความสําเร็จ ดังจะ
               ยกตัวอยางอาชีพที่ใชภาษาไทยเปนชองทางในการประกอบอาชีพโดยตรงเพื่อเปนตัวอยาง ดังนี้



                       1. อาชีพนักโฆษณา - ประชาสัมพันธ

                                  ี
                           เปนอาชพที่ผูประกอบการ ตองเพิ่มพูนความรูในเรื่องการเขียน และการ
                                                                                              ึ
               พูดแบบสรางสรรค รวมทั้งฝกประสบการณโดยการฝกเขยนบอย ๆ ตลอดจนการศกษาดูงานของ
                                                                     ี
               หนวยงาน หรือบริษัทเอกชนที่ประสบความสําเร็จในเรื่องของการโฆษณาและประชาสัมพันธ

                       องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม

                       ในการเพิ่มพูนองคความรูในดานการเขียนและการพูด ผูประกอบอาชพดานนี้ ควรศึกษา
                                                                                        ี
               เนื้อหาความรูที่จะนําไปใชในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้

                                                                     ี
                                                                         ั
                       1)  ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะอาชพนกโฆษณาประชาสัมพันธเปนอาชพ
                                                                                                        ี
                                                                     ้ํ
               ที่ตองอาศัยศาสตรทั้งสองดานประกอบกัน  ในการพูดนาเสียงตองนมนวลหรือเราใจขึ้นอยูกับ
                                                                                 ุ
               สถานการณของเรื่องที่จะโฆษณาหรือประชาสัมพันธ รูจักเลือกใชถอยคําที่เปนการใหเกียรติแก
                                                                              
               ผูฟงหรือเคารพขอมูลที่เจาของงานใหมา
                                                             ึ
                       2) ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง
               ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะและความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสื่อสารและผูรับสาร
                           
                                                                                   ี
               ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปนหลายกลุม หลายชนชนตามสภาพอาชพถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ ภาษา
                                                                   ั้
               จึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับพระภิกษุสงฆและ
                                                                                       
                                                                
                                                                         
               พระราชวงศ อาจใชถอยคําอยางหนึ่ง ภาษาของนักเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน ก็อาจจะใชภาษาอีก
                                                                                                    
                                                                                          
               อยางหนง เปนตน ดังนนผูใชภาษาจึงตองคํานงถึงความเหมาะสมและเลือกใชใหถูกตองเหมาะสม
                        ึ่
                                      ั้
                                                            ึ
                                           
               กับกาลเทศะและบุคคล
                         ในภาษาไทย จะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ
                         2.1) ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธีหรืองานพิธีของรัฐ
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99