Page 96 - พท21001
P. 96

90

                       องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม

                                                                                         ี
                                                       ั
                       ในการเพิ่มพูนความรูเพื่อการเปนนกจัดรายการวิทยุที่ดี ผูประกอบอาชพดานนี้ควรศึกษา
               เนื้อหาความรูที่จะนํามาใชในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้

                       1) ศิลปะการพูดและศิลปะการเขียน เพราะเปนอาชพที่ตองอาศัยศาสตรทั้งสองดาน
                                                                          ี
               ประกอบกัน
                       2) ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศกษาถึงความลดหลั่นของถอยคํา และการเรียบเรียง
                                                            ึ

               ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและ
                                                                                ั้
               ผูรับสาร ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชน ตามสภาพอาชพ ถิ่นที่อยู
                                                                                                ี
               อาศัย ฯลฯ ภาษาจึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคําที่ใชกับ

                                                                       ึ่
               พระภิกษุสงฆและพระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหนง ภาษาของนกเขียนหรือกวีที่สื่อสาร
                                                                                    ั
                                                                                   ึ
                               
                                                ึ่
                                                                   
               ถึงผูอาน ก็จะใชภาษาอีกอยางหนง เปนตน ดังนนผูใชภาษาจึงตองคํานงถึงความเหมาะสมและ
                                                              ั้
               เลือกใชใหถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล
                         ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ
                         2.1 ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ

                         2.2 ภาษาระดับทางการ เปนภาษาที่ใชในที่ประชุมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย

               การอภิปรายที่เปนทางการ เปนตน

                         2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชุมกลุมในหองเรียน

               การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน

                                                                                                        ั
                                                                  
                         2.4 ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่ว ๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนก
               เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน

                         2.5 ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับปากเปนภาษาสนทนาของ

               ครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นอง  พูดอยูในวงจํากัด

                       3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ

               ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนอหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง
                                                     ื้
               ที่ปรากฏในการสื่อสาร ซึ่งนกจัดรายการวิทยุตองระมัดระวังมิใหมีนาเสียงของภาษาออกมาในทาง
                                                                              ้ํ
                                         ั
               ที่ไมพึงประสงค หรือสรางความรูสึกที่ไมดีแกผูฟง
                                            
                       4) เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม
                                                    
               คําราชาศัพท การออกเสียง  ร  ล  และการออกเสียงคําควบกล้ํา
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101