Page 97 - พท21001
P. 97

91

                       5) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนกจัดรายการวิทยุตองปรากฏตัวตอบุคคลทั่วไป
                                                               ั
               ในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่และงานที่ไป

               ซึ่งจะชวยสรางความนาเชื่อถือแกผูพบเห็นไดสวนหนึ่ง

                                                           ั
                        6) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นกจัดรายการวิทยุ ตองหมั่นแสวงหาความรูติดตาม
                                                          ํ
               ขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการจัดรายการวิทยุ
                                                                                                 
                    
               ใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการประเมินผล เพื่อใชประโยชน
               ในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ที่จะกอใหเกิดการพัฒนา
                                              
               อาชีพใหดียิ่งขึ้น


                       3. อาชีพพิธีกร

                                  ี
                                                   ี
                           เปนอาชพที่ผูประกอบอาชพตองมีพื้นฐานความรูในเรื่องการพูดเปนอยางดี เพราะเปน
                             
                                                                            
               อาชีพที่ตองใชการพูดเปนเครื่องมือในการสื่อสารกับผูอื่น การใชคําพูดและถอยคําภาษาจึงเปนเรื่อง
                                                                                          
               สําคัญตอการสรางความรูสึกที่ดีหรือไมดีตอผูฟง นอกจากนี้บุคลิกภาพและการแตงกายของผูทําหนาที่
               พิธีกรก็เปนอีกเรื่องหนึ่งที่จะดึงดูดความสนใจของผูฟง รวมทั้งควรเปนผูที่ตรงตอเวลา เพื่อเปนความ

               เชื่อถือในวิชาชีพไดสวนหนึ่ง


                       องคความรูที่ควรศึกษาเพิ่มเติม

                                                                                                    ํ
                       ในการเพิ่มพูนองคความรูในการประกอบอาชีพพิธีกร ควรศึกษาเนื้อหาความรูที่จะนาไปใช   
               ในการพัฒนาอาชีพในเรื่องตอไปนี้
                                                                                      ี
                                                      
                       1. ศิลปะการพูดหรือศิลปะการใชภาษา เพราะอาชพพิธีกร เปนอาชพที่ตองอาศัยศาสตร
                                                                      ี
               (ความรู) และศิลปของการพูดเปนอยางมาก ซึ่งตองอาศัยการฝกฝนบอย ๆ
                                                                                                         ี
                       2. ระดับของภาษา ซึ่งเปนเรื่องของการศึกษาถึงความลดหลั่นของถอยคา และการเรียบเรยง
                                                                                        ํ
                                                                                    
                          
               ถอยคําที่ใชตามโอกาส กาลเทศะ และความสัมพันธระหวางบุคคลที่เปนผูสงสารและผูรับสาร
               ซึ่งกลุมบุคคลในสังคมแบงออกเปน หลายกลุม หลายชนชั้น ตามสภาพอาชีพ ถิ่นที่อยูอาศัย ฯลฯ



                                                                  
                                                                                       
               ภาษาจึงมีความแตกตางกันเปนระดับตามกลุมคนที่ใชภาษา เชน ถอยคาที่ใชกับพระภิกษุสงฆและ
                                                                          
                                                                                  ํ
                                                                     ั
                                  
                           
               พระราชวงศ อาจใชถอยคําภาษาอยางหนง ภาษาของนกเขียนหรือกวีที่สื่อสารถึงผูอาน ก็จะใช
                                                        ึ่
                                                                                                  
               ภาษาอีกอยางหนง เปนตน ดังนนผูใชภาษาจึงตองคํานงถึงความเหมาะสม และเลือกใชใหถูกตอง
                                                   
                                                                   ึ
                                              ั้
                                ึ่
               เหมาะสม กับกาลเทศะและบุคคล
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102