Page 95 - พท21001
P. 95

89

                         2.2) ภาษาระดับทางการ เปนภาษาที่ใชในที่ประชมที่มีแบบแผนการบรรยาย
                                                                   
                                                                              ุ
               การอภิปรายที่เปนทางการ เปนตน

                                                                                        ุ
                                                                   
                         2.3) ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษาที่ใชในการอภิปราย ประชมกลุมในหองเรียน
               การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ

                         2.4) ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่ว ๆ ไป กับคนที่ไมคุนเคย
                                                                       
               มากนัก เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน


                         2.5) ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับภาษาปาก เปนภาษาสนทนา
               ของครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นอง พูดอยูในวงจํากัด

                       3) เรื่องของน้ําเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ

                                                    ื้
               ใหรูสึกหรือเปนรองรอยในภาษาหรือเนอหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมาเปนความรูสึกแฝง
               ที่ปรากฏในการสื่อสาร ซึ่งนักโฆษณาประชาสัมพันธตองระมัดระวังมิใหมีน้ําเสียงของภาษาออกมา

               ในทางที่ไมพึงประสงค หรือสรางความรูสึกที่ไมดีแกผูฟง

                                                               ั
                       4) ดานการพัฒนาบุคลิกภาพ ในบางครั้งนกโฆษณา - ประชาสัมพันธตองปรากฏตัวตอ
               บุคคลทั่วไปในงานตาง ๆ จึงควรตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย เหมาะกับกาลเทศะของสถานที่

               และงานทั่วไป ซึ่งจะชวยสรางความนาเชื่อถือแกผูพบเห็นไดสวนหนึ่ง

                       5) การพัฒนาองคความรูในตนเอง นกโฆษณา - ประชาสัมพันธ ตองหมั่นแสวงหาความรู
                                                        ั
               ติดตามขาวสารขอมูลทุกดานอยางสม่ําเสมอ เพื่อนามาใชเปนขอมูลในการพัฒนาการ
                                                                     ํ
               โฆษณา - ประชาสัมพันธใหนาสนใจอยูตลอดเวลา รวมทั้งตองแสวงหาความรูในดานการ
                                              
                                  
                                                                          
                                           
               ประเมินผล เพื่อใชประโยชนในการประเมินผลการปฏิบัติหนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการ
               ตาง ๆ ที่จะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพใหดียิ่งขึ้น

                       2. อาชีพนักจัดรายการวิทยุ

                           เปนอาชพที่ผูประกอบการตองเปนคนที่ตรงตอเวลา มีจรรยาบรรณวิชาชพ มีความ
                                                                                                 ี
                                  ี
               เปนกลางในการนาเสนอขาวสารขอมูล รูจักแกปญหาเฉพาะหนาและตองเพิ่มพูนความรูในเรื่อง
                                 ํ
                                                                             
                                                                                                     
                                                      ั
               การเขียน และการพูด เพราะการเปนนกจัดรายการวิทยุ ผูจัดตองเขียนสคริปตที่จะใชในการ
               ดําเนนรายการไดเอง และพูดตามสคริปตไดอยางเปนธรรมชาติ รวมทั้งตองอานมาก ฟงมาก
                    ิ
               เพื่อเก็บรวบรวมขอมูลไวใชในการจัดทํารายการวิทยุ ซึ่งมีสถานที่ที่ผูประกอบการสามารถ
                                           
               ฝกอบรมและศึกษาดูงานไดทั้งของภาครัฐและเอกชน
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100