Page 98 - พท21001
P. 98

92

                         ในภาษาไทยจะแบงระดับของภาษาเปน 5 ระดับ คือ

                         2.1 ภาษาระดับพิธีการ เปนภาษาที่ใชในงานพระราชพิธี หรืองานพิธีของรัฐ

                                                                           ุ
                         2.2 ภาษาระดับทางการ เปนภาษที่ใชในที่ประชมที่มีแบบแผน ในการบรรยาย
                                                                
               การอภิปรายที่เปนทางการ เปนตน

                                                                 
                         2.3 ภาษาระดับกึ่งทางการ เปนภาษที่ใชในการอภิปราย ประชมกลุมในหองเรียน
                                                                                       ุ
               การพูดทางวิทยุและโทรทัศน ขาว และบทความในหนังสือพิมพ เปนตน

                         2.4 ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาที่ใชสนทนาทั่ว ๆ ไปกับคนที่ไมคุนเคยมากนก
                                                                                                        ั
                                                                   
               เชน ครูพูดกับผูเรียน เปนตน
                         2.5 ภาษาระดับกันเอง เปนภาษาระดับที่เรียกวาระดับปากเปนภาษาสนทนาของ

               ครอบครัว ในหมูเพื่อนสนิท หรือญาติพี่นองพูดอยูในวงจํากัด

                       3. เรื่องของนาเสียงในภาษา ซึ่งเปนเรื่องที่เกี่ยวกับอารมณ ความรูสึกของผูสงสารที่ปรากฏ
                                   ้ํ
                                                     ื้
               ใหรูสึก หรือเปนรองรอยในภาษา หรือเนอหาที่ผูสงสารตองการจะสื่อออกมา เปนความรูสึกแฝง
               ที่ปรากฏในการสื่อสาร

                                            
                                                    
                       4. เรื่องของหลักการใชภาษา เชน เรื่องของคําสรรพนามที่เกี่ยวกับบุคคล คําลักษณะนาม
               คําราชาศัพท การออกเสียง ร ล และการออกเสียงคําควบกล้ํา

                                                                               
                       5. เรื่องของการพัฒนาบุคลิกภาพและการแตงกาย ผูทําหนาที่พิธีกร เปนผูที่ตองปรากฏ
               กายตอหนาคนจํานวนมาก บุคลิกภาพและการแตงกาย จึงเปนเรื่องสําคัญที่จะปรากฏเปนสิ่งแรก

               ใหผูที่พบเห็นเกิดความประทับใจหรือไม ถาประทับใจผูคนจะจดจอรอฟงการพูดเปนประการ

               ตอมา ถาผูพูดสามารถพูดไดประทับใจ จะกอเกิดเปนความนยมชมชอบตามมาและจะกอเกิดเปน
                                                                       ิ
               ความสําเร็จของอาชีพในที่สุด

                       6. ดานการพัฒนาองคความรูในตนเอง พิธีกรตองหมั่นแสวงหาความรูที่เกี่ยวของกับการ

                                                                    
               ประกออาชีพ เพื่อนําไปสูการพัฒนาอาชพของตนเอง เชน เรื่องของการวัดผลประเมินผลการทํา
                                                     ี
               หนาที่ของตนเองดวยรูปแบบวิธีการตาง ๆ ซึ่งจะกอใหเกิดการพัฒนาอาชีพใหดียิ่งขึ้น
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103