Page 24 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 24
17
1.5 เก็บออมเงินสวนที่เหลือจากการบริโภคไวใชจายในอนาคต
1.6 นําเงินสวนหนึ่งมาลงทุนซื้อเมล็ดพืช เพื่อเพาะปลูกตอไป
2. เลือกใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด โดยการนําทรัพยากรหรือวัสดุ
ตางๆ ที่สามารถหาไดงายในชุมชนมาใชประโยชน ใชทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนอยางคุมคาดวย
การหมุนเวียนทุนธรรมชาติในพื้นที่ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวย
ตนเอง ชวยลดภาระการเสี่ยงดานราคาจากการไมสามารถควบคุมระบบตลาด
ไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากร โดยคํานึงถึงสิ่งที่ไมเปนภัยกับสิ่งแวดลอม เชน
2.1 การทําไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพื่อใหมีการหมุนเวียน มีสินคา
หลากหลาย ลดภาวะเสี่ยงดานราคา
2.2 การจางแรงงานภายในชุมชน เพื่อสงเสริมใหตนเอง ครอบครัว และชุมชนมี
รายได
2.3 การทําปุยหมักปุยคอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อลด
คาใชจายและบํารุงดิน
2.4 การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลือใชในไรนา
2.5 การปลูกไมผลสวนหลังบาน และไมใชสอยในครัวเรือน
2.6 การปลูกพืชสมุนไพร ชวยสงเสริมสุขภาพอนามัย
2.7 การเลี้ยงปลาในรองสวน ในนาขาวและแหลงน้ํา เพื่อเปนอาหารโปรตีนและ
รายไดเสริม
2.8 การเลี้ยงไกพื้นเมือง และไกไข ประมาณ 10 – 15 ตัวตอครัวเรือนเพื่อเปนอาหารใน
ครัวเรือน โดยใชเศษอาหาร รํา และปลายขาวจากผลผลิตการทํานา การเลี้ยงสัตวจากการปลูก
พืชไร เปนตน
2.9 การทํากาซชีวภาพจากมูลสัตว
เรื่องที่ 2 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชีพ
จากพระราชดํารัส : เศรษฐกิจพอเพียง มิไดจํากัดเฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนา
เพียงเทานั้น แตเปนเศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ทั้งที่อยูในเมืองและอยูในชนบท เชน ผูที่ไดเปน
เจาของโรงงานอุตสาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยายกิจการเพราะ
24 เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21001
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์