Page 22 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 22
15
บทที่ 2
การประกอบอาชีพอยางพอเพียง
เรื่องที่ 1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยู
ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจที่พอเพียงกับตนเองทําใหอยูไดไมตองเดือดรอน
มีสิ่งจําเปนที่ทําไดโดยตัวเองไมตองแขงขันกับใคร และมีเหลือเพื่อชวยเหลือผูที่ไมมี
อันนําไปสูการแลกเปลี่ยนในชุมชน และขยายไปจนสามารถที่จะเปนสินคาสงออก เศรษฐกิจ
พอเพียงเปนเศรษฐกิจระบบเปดที่เริ่มจากตนเองและความรวมมือ วิธีการเชนนี้จะดึงศักยภาพ
ของประชากรออกมาสรางความเขมแข็งของครอบครัว ซึ่งมีความผูกพันกับ “จิตวิญญาณ” คือ
“คุณคา” มากกวา “มูลคา”
ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลําดับความสําคัญของ “คุณคา” มากกวา “มูลคา”
มูลคานั้นขาดจิตวิญญาณ เพราะเปนเศรษฐกิจภาคการเงินที่เนนที่จะตอบสนองตอความ
ตองการที่ไมจํากัดซึ่งไรขอบเขต ถาไมสามารถควบคุมได การใชทรัพยากรอยางทําลายลาง
จะรวดเร็วขึ้นและปญหาจะตามมา เปนการบริโภคที่กอใหเกิดความทุกขหรือพาไปหาความทุกข
และจะไมมีโอกาสบรรลุวัตถุประสงคในการบริโภค ที่จะกอใหเกิดความพอใจและความสุข
(Maximization of Satisfaction) ผูบริโภคตองใชหลักขาดทุนคือกําไร (Our loss is our
gain) อยางนี้จะควบคุมความตองการที่ไมจํากัดได และสามารถจะลดความตองการลงมาได
กอใหเกิดความพอใจและความสุขเทากับไดตระหนักในเรื่อง “คุณคา” จะชวยลดคาใชจายลงได
ไมตองไปหาวิธีทําลายทรัพยากรเพื่อใหเกิดรายไดมาจัดสรรสิ่งที่เปน “ความอยากที่ไมมี
ที่สิ้นสุด” และขจัดความสําคัญของ “เงิน” ในรูปรายได ที่เปนตัวกําหนดการบริโภคลงไดระดับ
หนึ่ง แลวยังเปนตัวแปรที่ไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพึ่งพิงกลไกของตลาด
ซึ่งบุคคลโดยทั่วไปไมสามารถจะควบคุมได รวมทั้งไดมีสวนในการปองกันการบริโภคเลียนแบบ
(Demonstration Effects) จะไมทําใหเกิดการสูญเสีย จะทําใหไมเกิดการบริโภคเกิน
(Over Consumption) ซึ่งกอใหเกิดสภาพเศรษฐกิจดี สังคมไมมีปญหา การพัฒนายั่งยืน
22 เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น : ทช21001
ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์