Page 23 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 23

16



                               ประเทศไทยอุดมไปดวยทรัพยากรและยังมีพอสําหรับประชาชนไทยถามีการจัดสรรที่ดี

                       โดยยึด" คุณคา " มากกวา " มูลคา " ยึดความสัมพันธของ “บุคคล”  กับ “ระบบ”  และปรับ

                       ความตองการที่ไมจํากัดลงมาใหไดตามหลักขาดทุนเพื่อกําไร และอาศัยความรวมมือเพื่อใหเกิด

                       ครอบครัวที่เขมแข็งอันเปนรากฐานที่สําคัญของระบบสังคม

                              ในการผลิตนั้นจะตองทําดวยความรอบคอบไมเห็นแกได  จะตองคิดถึงปจจัยที่มีและ

                       ประโยชนของผูเกี่ยวของ มิฉะนั้นจะเกิดปญหาอยางเชนบางคนมีโอกาสทําโรงงานแตไมไดคํานึง

                       วาปจจัยตาง ๆ ไมครบ ปจจัยหนึ่งคือขนาดของโรงงาน หรือเครื่องจักรที่สามารถที่จะปฏิบัติได
                       แตขอสําคัญที่สุด คือวัตถุดิบ ถาไมสามารถที่จะใหคาตอบแทนวัตถุดิบแกเกษตรกรที่เหมาะสม


                       เกษตรกรก็จะไมผลิต ยิ่งถาใชวัตถุดิบสําหรับใชในโรงงานนั้น เปนวัตถุดิบที่จะตองนํามาจาก
                       ระยะไกล หรือนําเขาก็จะยิ่งยาก  เพราะวาวัตถุดิบที่นําเขานั้นราคายิ่งแพง บางปวัตถุดิบมี

                       บริบูรณ ราคาอาจจะต่ําลงมา แตเวลาจะขายสิ่งของที่ผลิตจากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน

                       เพราะมีมากจึงทําใหราคาตก หรือกรณีใชเทคโนโลยีทางการเกษตร เกษตรกรรูดีวาเทคโนโลยี

                       ทําใหตนทุนเพิ่มขึ้น และผลผลิตที่เพิ่มนั้นจะลนตลาด ขายไดในราคาที่ลดลง ทําใหขาดทุน

                       ตองเปนหนี้สิน

                              การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูของตนเอง

                       ครอบครัว และชุมชนจะชวยใหดํารงชีวิตอยางไมเดือดรอน และเกิดความยั่งยืน โดยคํานึงถึง

                              1.  รูจักใชและจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางชาญฉลาดและรอบคอบ โดยเริ่มตนผลิต

                       หรือบริโภคภายใตขอจํากัดของรายไดหรือทรัพยากรที่มีอยูไปกอน คือใชหลักพึ่งพาตนเอง

                       โดยมุงเนนการผลิตพืชผลใหเพียงพอกับความตองการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรก

                       เมื่อเหลือจากการบริโภคแลวจึงคํานึงถึงการผลิต เพื่อการคาเปนอันดับรองลงมา รูจักประมาณ

                       ตนโดยใชทรัพยากรอยางประหยัด ไมฟุมเฟอย ในการลงทุนประกอบอาชีพใหเปนไปตามกําลัง

                       ทรัพยและศักยภาพของตนเอง เชน

                                1.1 ปลูกผักสวนครัวลดคาใชจาย

                                1.2 นําน้ําที่ผานการใชแลวในครัวเรือนมารดพืชผักสวนครัว

                                1.3 นําพืชผักสวนครัวที่เพาะปลูกไดมาบริโภค แบงปนเพื่อนบาน บางสวนนําไปขาย

                       ที่ตลาด สวนที่เหลือนําไปเลี้ยงหมู
                                1.4 นําเงินจากการขายพืชผักสวนครัวและหมูไปซื้อสินคาและบริการที่สมาชิกใน


                       ครัวเรือนตองการและมีความจําเปนในการอุปโภคบริโภค




                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  23
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28