Page 53 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 53

46



                              นายเล็ก  กุดวงคแกว เปนบุคคลที่สมควรไดรับการยกยองในฐานะที่ทานเปน “ปราชญ

                       ชาวบาน” และเปนผูนําตามธรรมชาติของชุมชน ผลงานที่โดดเดนของนายเล็ก คือ การเผยแพร


                       ความคิดในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ โดยประยุกตภูมิปญญาทองถิ่นผสานกับแนวคิดทาง

                       พุทธศาสนา แนวความคิดของนายเล็กสามารถนําไปปฏิบัติและกอใหเกิดผล อีกทั้งยังสัมพันธ

                       กับวิถีเศรษฐกิจของชาวบาน บนพื้นฐาน ของการใชชีวิตอยางพออยู พอกิน


                              ปจจุบันนายเล็ก สามารถสรางเครือขายการเรียนรูเพื่อการ “พึ่งพาตนเอง พึ่งพา

                       ธรรมชาติดวยความเคารพ”  ในกวา 300 หมูบาน 94 อําเภอ ในจังหวัด 3 จังหวัด และเปน


                       คณะกรรมการและวิทยากรใหหลายหนวยงาน ทั้งภาครัฐ หนวยงานเอกชนและองคกรชาวบาน

                       หลายแหงทั่วประเทศ

                              นายเล็ก ใหความสําคัญตอการเรียนรู สูการปฏิบัติจริง โดยใชวิธีการรวมกลุม เพื่อจัด


                       กระบวนการเรียนรู ปลูกจิตสํานึก พรอมขยายเครือขายการเรียนรู ดังคํากลาวของนายเล็กที่วา

                       “อยากไดชางปา ก็เอาชางไปตอ ถาอยากไดคนชนิดเดียวกัน ก็ตองเอาคนไปตอ คนแบบ

                       เดียวกับเรามีอยูดวยกันทุกชุมชน เพียงแตเราตองไปคนหาเขาทั้งนั้น” จนเกิดกลุมอินแปงอยูใน


                       สมาชิกเครือขายภูมิปญญาไท ซึ่งถือเปนเครือขายระดับชาติ มีสมาชิกเปนเครือขายองคกร

                       ชุมชน ระดับอําเภอ และจังหวัดอยูทุกภาคของประเทศ มีการเดินทางไปศึกษาดูงาน


                       แลกเปลี่ยนความรู และในป พ.ศ. 2541 เครือขายภูมิปญญาไทไดรวมกันพัฒนา “แผนแมแบบ

                       ชุมชน” ขึ้นมาจากประสบการณของชุมชนเพื่อเปนกรอบและทิศทางในการพัฒนาชุมชน


                       โดยแบงเปน 7 ประเด็น คือ การเกษตร สิ่งแวดลอม สุขภาพชุมชน อุตสาหกรรม ธุรกิจชุมชน

                       กองทุนและสวัสดิการชุมชนและการเรียนรู  ปจจุบัน  บทบาทหลักของนายเล็ก กุดวงคแกว

                       ในขณะนี้ คือ การขยายแนวความคิดและสรางเครือขาย สวนงานภายในกลุมอินแปง สามารถ


                       ดําเนินงานละกําหนดแนวความคิดของตนเอง รวมทั้งกลุมเยาวชน “เด็กกะเลิงรักปา”

                       ที่มีกิจกรรมหลักเพื่อใหเยาวชนไดสืบทอดแนวคิด วิถีชีวิต วัฒนธรรมของชุมชน  นับเปนการ

                       เผยแพร ถายทอด ผลงานที่ประสบผลสําเร็จจากรุนสูรุน








                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  53
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58