Page 54 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 54

47



                     2. ชุมชนที่ประสบผลสําเร็จและไดรับการเผยแพร ผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญา

              ของเศรษฐกิจพอเพียง


                     ชุมชนบานจํารุง  ตนแบบเศรษฐกิจพอเพียง  บานจํารุง ตั้งอยูหมู  ที่ 7 ตําบลเนินฆอ

              อําเภอแกลง  จังหวัดระยอง  ภาคตะวันออกของประเทศไทย  ดวยสภาพความเปนอยูในชุมชน

              เนนการพึ่งพาตนเอง จนเปนที่ยอมรับและเปนตัวอยางที่ดี มีผูมาศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู


              ตลอดทั้งป หมูบานจํารุงสงเสริมใหประชาชน ไดนําผักพื้นบานมารับประทาน อาทิ ดอกอัญชัน

              ยอดมะระ ขมิ้นชัน ชะอม ใบชะพลู ใบบัวบก ยอดเสม็ดแดง ฯลฯ ใชประกอบเปนอาหารหลัก


              รวมถึงชวนเชิญนักทองเที่ยวที่เขามาเปนลูกคาของรานสมตําจํารุง   ไดบริโภคผักพื้นบานเหลานี้

              จนกระทั่งไดเปนสัญลักษณของชุมชน ที่นักทองเที่ยวรูจักและคุนเคย กลุมผูสูงอายุบานจํารุง

              เปนตัวอยางของการรวมกลุม  เพื่อสรางสรรคผลิตภัณฑคุณภาพมากมาย อาทิ ผลิตขาวซอมมือ


              บรรจุถุงจําหนายในรานคาของชุมชน เพื่อสงเสริมใหประชาชนมีสุขภาพที่ดี โดยมีโรงสีขาว

              ชุมชนเองมีการผลิตขาวซอมมืออยางตอเนื่อง และนําเศษแกลบรําสงใหกับกลุมเกษตรกรพื้นบาน

              ทําปุยชีวภาพ และนําปลายขาวขายใหกับกลุมผูเลี้ยงตะพาบน้ํา กอตั้ง กลุมธนาคารขยะ


                      ชุมชนไมเรียง เปนตําบลเล็ก ๆ แหงหนึ่ง ขนาดพื้นที่ประมาณ 45 ตารางกิโลเมตร

              อยูในอําเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีประชากรจํานวนประมาณ 1,382 ครัวเรือน และ


              ประกอบอาชีพทําสวนยางพาราเปนหลักมาตั้งแตบรรพบุรุษ โดยเฉพาะหลังจากที่รัฐมีนโยบาย

              สงเสริมการเกษตรเชิงพาณิชย ดวยการปลูกยางพาราเปนพืชเดี่ยว และทําใหวิถีชีวิตของชาวไม


              เรียงขึ้น อยูกับยางพาราตั้งแตนั้นเปนตนมา  ความหวังและชีวิตของชาวบานยิ่งผูกติดกับ

              ยางพาราอยางแนบแนนมากขึ้น หลังจากที่ชุมชนไมเรียงประสบวาตภัยแหลมตะลุมพุก ในป

              พ.ศ. 2505 วาตภัยครั้งนั้นไดทําใหพื้นที่ปาไมและสวนยางเดิม รวมทั้งพื้นที่เพาะปลูกของชุมชน


              ไมเรียงถูกทําลายราบเรียบ ชาวบานจึงไดขยายพื้นที่การทําสวนยางพารามากขึ้น เพื่อทดแทน

              พื้นที่การเกษตรและพื้นที่ปาไมที่ถูกทําลาย     โดยปลูกยางขึ้นมาใหมจากการสนับสนุนดานทุน

              และพันธุยาง ของกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง  จนในที่สุด “กลุมเกษตรกรชาวสวนยางไม


              เรียง” จึงกอเกิดขึ้นมา เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2527 และเริ่มทําการผลิตเปนครั้งแรก เมื่อวันที่






             54   เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59