Page 57 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 57

50



                       เพื่อชวยเหลือราษฎร  นับเปนจุดเริ่มตนแหงที่มาของ “เศรษฐกิจพอเพียง”  นับตั้งแตอดีตกาล

                       แมกระทั่งโครงการแรกๆ แถวจังหวัดเพชรบุรี  ก็ทรงกําชับหนวยราชการมิใหนําเครื่องกลหนัก


                       เขาไปทํางาน รับสั่งวาหากนําเขาไปเร็วนัก ชาวบานจะละทิ้งจอบ เสียม และในอนาคตจะชวย

                       ตัวเองไมได  ซึ่งก็เปนจริงในปจจุบัน

                              จากนั้นไดทรงคิดคนวิธีการที่จะชวยเหลือราษฎรดานการเกษตร  จึงไดทรงคิด“ทฤษฎี


                       ใหม”ขึ้นเมื่อป 2535  ณ  โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจาก

                       พระราชดําริจังหวัดสระบุรี  เพื่อเปนตัวอยางสําหรับการทําการเกษตรใหแกราษฎร  ในการ


                       จัดการดานที่ดินและแหลงน้ําในลักษณะ 30  :  30  :  30  :  10    คือ ขุดสระและเลี้ยง

                       ปลา 30  ปลูกขาว  30  ปลูกพืชไรพืชสวน  30  และสําหรับเปนที่อยูอาศัย ปลูกพืชสวนและ

                       เลี้ยงสัตวใน  10  สุดทาย


                              ตอมาไดพระราชทานพระราชดําริเพิ่มเติมมาโดยตลอด เพื่อใหเกษตรกร ซึ่งเปนคนสวน

                       ใหญของประเทศมีความแข็งแรงพอ กอนที่จะไปผลิตเพื่อการคาหรือเชิงพาณิชย  โดยยึดหลักการ

                       “ทฤษฎีใหม” 3  ขั้น คือ ขั้นที่ 1 มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเองได ขั้นที่ 2  รวมพลังกันในรูปกลุม


                       เพื่อการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งดานสวัสดิการ  การศึกษา  การพัฒนาสังคม

                       ขั้นที่ 3  สรางเครือขาย   กลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย


                       จากแนวทางหลักการ “ทฤษฎีใหม”    สามารถนําสูแนวคิดระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียง

                       ที่นําไปใชไดกับทุกภาคสวนในสังคมชุมชน ดังนี้


                              ขั้นที่หนึ่ง  มีความพอเพียง เลี้ยงตัวเองไดบนพื้นฐานของความประหยัด ขจัดการใชจาย

                       เปนระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการที่วา “ตนเปนที่พึ่งแหงตน” โดยมุงเนนการผลิตพืชผลให

                       เพียงพอกับความตองการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรกเมื่อเหลือพอจากการบริโภคแลว


                       จึงคํานึงถึงการผลิตเพื่อการคาเปนอันดับรองลงมา ผลผลิตสวนเกินที่ออกสูตลาดก็จะเปนกําไร

                       ของเกษตรกรในสภาพการณเชนนี้เกษตรกรจะกลายสถานะเปนผูกําหนดหรือเปนผูกระทําตอ

                       ตลาด แทนที่วาตลาดจะเปนตัวกระทําหรือเปนตัวกําหนดเกษตรกรดังเชนที่เปนอยูในขณะนี้


                       และหลักใหญสําคัญยิ่ง คือ การลดคาใชจายโดยการสรางสิ่งอุปโภคบริโภคในที่ดินของ

                       ตนเอง เชน ขาว น้ํา ปลา ไก ไมผล พืชผัก ฯลฯ



                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  57
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62