Page 60 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 60

53



               นํามาใชเปนหลักในการดําเนินชีวิตทั้งในประเทศและตางประเทศแลวมากมาย ซึ่งเราจําเปนที่

               จะตองเขาไปศึกษาหาวา ในแตละพื้นที่ไดมีผูนําเอาปรัชญานี้ไปใชอยางไรบาง โดยเฉพาะอยาง

               ยิ่งที่นําไปใชแลวประสบความสําเร็จ



               การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงดานการศึกษา

                       ในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในภาคการศึกษานั้น จะตองมุงพัฒนา

               ที่ตัวครูกอนเปนอันดับแรก เพราะครูถือวาเปนทรัพยากรที่สําคัญในการถายทอดความรู และ


               ปลูกฝงสิ่งตางๆ ใหแกเด็ก    ดังนั้นจึงควรสงเสริมครูใหมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลัก

               เศรษฐกิจพอเพียงอยางถองแทกอน เพราะเมื่อครูเขาใจ ครูก็จะไดเปนแบบอยางที่ดีใหแกเด็กได


               ครูจะสอนใหเด็กรูจักพอ ครูจะตองรูจักพอกอนโดยอยูอยางพอเพียงและเรียนรูไปพรอมๆ

               กับเด็ก โดยเฉพาะอยางยิ่ง ตองมีสติในการเลือกรับขอมูลตางๆ  ที่เขามา รูจักเลือกรับและรูจัก

               ตอยอดองคความรูที่มีอยู หมั่นศึกษา เพิ่มพูนความรู อยางเปนขั้นเปนตอนไมกาวกระโดด


               ในการเลือกรับขอมูลนั้น ตองรูจักพิจารณารับอยางเปนขั้นเปนตอน รูจักแกไขปญหาอยางเปน

               ขั้นเปนตอน ประเมินความรูและสถานการณอยูตลอดเวลา   จะไดรูจักและเตรียมพรอมที่จะ


               รับมือกับสภาพ และผลจากการเปลี่ยนแปลงในมติตางๆไดอยางรอบคอบและระมัดระวัง

                        เปาหมายสําคัญของการขับเคลื่อน คือ การทําใหเด็กรูจักความพอเพียง ปลูกฝง อบรม

               บมเพาะใหเด็กมีความสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมและวัฒนธรรม โดยสอดแทรก


               แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใหเขาเปนสวนหนึ่งของหลักสูตร สาระเรียนรูตาง ๆ

               เพื่อสอนใหเด็กรูจักการใชชีวิตไดอยางสมดุล ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณคาของ

               ทรัพยากรตางๆ รูจักอยูรวมกับผูอื่น รูจักเอื้อเฟอเผื่อแผและแบงปน มีจิตสํานึกรักษสิ่งแวดลอม


               และเห็นคุณคาของวัฒนธรรมคานิยม ความเปนไทย ทามกลางการเปลี่ยนแปลงตางๆ รูวาตนเอง

               เปนองคประกอบหนึ่งในสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของโลก  การกระทําของตนยอมมีผลและ


               เชื่อมโยงกับสภาพแวดลอมในโลกที่ตนเองเปนสมาชิกอยูดวย ซึ่งการจะบรรลุเปาหมายดังกลาว

               ขางตน สําคัญคือครูจะตองรูจักบูรณาการการเรียนการสอนใหเด็กและเยาวชนเห็นถึงความ








             60   เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65