Page 58 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 58

51



                       ขั้นที่สอง รวมพลังกันในรูปกลุม เพื่อทําการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งดาน

               สวัสดิการ การศึกษา การพัฒนาสังคม ฯลฯ ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงใหความสําคัญกับการ


               รวมกลุมของชาวบาน ทั้งนี้ กลุมชาวบานหรือองคกรชาวบานจะทําหนาที่เปนผูดําเนินกิจกรรม

               ทางเศรษฐกิจตางๆ ใหหลากหลาย ครอบคลุมทั้งการเกษตรแบบผสมผสาน หัตถกรรม

               การแปรรูปอาหาร การทําธุรกิจคาขายและการทองเที่ยวระดับชุมชน ฯลฯ เมื่อองคกรชาวบาน


               เหลานี้ไดรับการพัฒนาใหเขมแข็ง และมีเครือขายที่กวางขวางมากขึ้นแลวเกษตรกรทั้งหมดใน

               ชุมชนก็จะไดรับการดูแลใหมีรายไดเพิ่มขึ้น รวมทั้งไดรับการแกไขปญหาในทุก ๆ ดาน เมื่อเปน


               เชนนี้ เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศก็จะสามารถเติบโตไปไดอยางมีเสถียรภาพ ซึ่งหมายความ

               วาเศรษฐกิจสามารถขยายตัวไปพรอม ๆ กับสภาวการณดานการกระจายรายไดที่ดีขึ้น

                        ขั้นที่สาม สรางเครือขายกลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหหลากหลาย

               โดยประสานความรวมมือกับภาคธุรกิจ  ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการ ในดาน

               เงินทุน การตลาด การผลิต  การจัดการ และขาวสารขอมูล  ระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยู

               บนพื้นฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทร และความสามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการ

               รวมแรงรวมใจเพื่อประกอบอาชีพตาง ๆ ใหบรรลุผลสําเร็จ ประโยชนที่เกิดขึ้น  จึงมิไดหมายถึง

               รายไดแตเพียงมิติเดียว หากแตยังรวมถึงประโยชน    ในมิติอื่น ๆ ดวย ไดแก การสรางความ

               มั่นคงใหกับสถาบันครอบครัว สถาบันชุมชน ความสามารถในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

               และสิ่งแวดลอม การพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชนบนพื้นฐานของภูมิปญญาทองถิ่น

               รวมทั้งการรักษาไวซึ่งขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีงามของไทยใหคงอยูตลอดไป

                        นอกจากนี้ การสรางเครือขายใหประสบผลสําเร็จ จําเปนตองมีการสรางความผูกพัน

               และความรับผิดชอบตอการสรางเครือขายรวมกันเองใชเวลา  ตองเคารพและความไววางใจซึ่ง

               กันและกันเปนสิ่งสําคัญ และตองพึงระลึกไวเสมอวาในภาพรวม องคกรที่รวมเครือขายจะตอง

               ไดรับประโยชนจากการสรางเครือขาย ตองหมั่นสรุปบทเรียนการทํางาน วิเคราะหจุดแข็ง

               จุดออนตางๆ  และตองจําไวเสมอวาในชวงการรวมเปนเครือขายหรือประสานงานกัน
                                                                                               42
               สถานการณอาจมีการเปลี่ยนแปลง           เราตองตระหนักถึงปญหา และมีความยึดหยุน

               พอสมควร ที่สําคัญที่สุดคือ  ตองมีความรับผิดชอบในความสําเร็จ หรือความลมเหลวรวมกัน







             58   เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63