Page 55 - เศรษฐกิจต้นnew.indd
P. 55

48



                       20 ตุลาคม 2527ดวยสมาชิกกอตั้งจํานวน 37 คน มีกําลังการผลิตยางอบแหงวันละ 500

                       กิโลกรัม จนปจจุบันสามารถขยายสมาชิกเปน 179 คน และมีกําลังการผลิตสูงสุดไดถึงวันละ


                       5 ตัน



                       เรื่องที่ 2 การสรางเครือขายการประกอบอาชีพ  การดําเนินชีวิตและกระบวนการ

                                  ขับเคลื่อนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

                              เครือขาย (Network) เปนรูปแบบทางสังคมที่เปดโอกาสใหเกิดปฏิสัมพันธระหวาง

                       องคการเพื่อการแลกเปลี่ยน การสรางความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และการรวมกันทํางานโดย

                       มีฐานะเทาเทียมกันการสรางเครือขายการทํางานเปนวิธีการทํางานที่ไดรับความนิยมทั้งในภาค

                       ธุรกิจและในการทํางานเชิงพัฒนาสังคม นอกเหนือจากคําวา "เครือขาย" หรือ "Network"

                       ในทางดานธุรกิจ เราจะไดยินคําเรียกชื่อตาง ๆ ที่มีความหมายใกลเคียง เชน คําวา แนวรวมใน

                       เชิงกลยุทธ หรือ Strategic Alliance หุนสวนในการทํางาน  หรือ Partner เปนตน  ลักษณะ

                       ของเครือขาย  โดยทั่วไปมีลักษณะ ดังนี้

                               เครือขายมีลักษณะเปนโครงสรางทางความคิด (Cognitive structures) ไมวาจะ
                       พัฒนาไปถึงระดับใด บุคคลที่เกี่ยวของในองคกรเครือขายจะมีกรอบความคิดเกี่ยวกับองคกร

                       เครือขายใกลเคียงกันในดานความรูความสามารถและความตองการ

                               องคกรเครือขายไมมีลําดับขั้น (Hierarchy) การเชื่อมโยงระหวางองคกรเครือขาย

                       เปนไปในลักษณะแนวราบ แตละองคกรเปนอิสระตอกัน แตระดับความเปนอิสระของแตละ

                       องคกรอาจไมเทากัน

                               องคกรเครือขายมีการแบงงานกันทํา (Division of labour) การที่องคกรเขามารวม

                       เปนเครือขายกันเพราะสวนหนึ่งคาดหวังการพึ่งพิงแลกเปลี่ยนความสามารถระหวางกัน ดังนั้น

                       หากองคกรใดไมสามารถแสดงความสามารถใหเปนที่ประจักษ ก็อาจหลุดออกจากเครือขายได

                       ในทางตรงกันขามหากไดแสดงความสามารถ ก็จะนําไปสูการพึ่งพิงและขึ้นตอกัน การแบงงาน

                       กันทํา ทั้งยังเปนการลดโอกาสที่องคกรใดองคกรหนึ่งจะแสดงอํานาจเหนือเครือขายดวย

                               ความเขมแข็งขององคกรที่รวมกันเปนเครือขาย จะนําไปสูความเขมแข็งโดยรวมของ

                       เครือขาย ดังนั้น การพัฒนาของแตละองคกรเครือขาย จึงเปนสิ่งสําคัญ

                               องคกรเครือขายกําหนดการบริหารจัดการกันเอง (Self-regulating) ในการทํางาน

                       รวมกันในลักษณะแนวราบ จําเปนตองมีความสมานฉันท โดยผานกระบวนการทาง



                                                                     เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21001  55
                                                                                          ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60