Page 20 - ศิลปศึกษาทช21003.indd
P. 20

12


               เปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม และสิ่งแวดลอม ทําใหศิลปกรรมไทยไดกาวยางเขาสูความเปน

               ศิลปะรวมสมัยกับศิลปะสากลอยางแทจริง



               ศิลปะไทย มีลักษณะอยางไร

                     ศิลปะไทยไดรับอิทธิพลจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในสังคมไทย ซึ่งมีลักษณะเดน

               คือ ความงามอยางนิ่มนวล มีความละเอียดประณีต

                     ศิลปะไทยมาจากธรรมชาติ เชน หางหงส ติดตั้งอยูปลายจันทันมีลักษณะคลายหาง

               หงส, รวงผึ้ง ใชประดับอยูใต ขื่อ ดานหนาของโบสถ วิหาร มีลักษณะเปนรูปคลายรังผึ้ง,

               สาหราย สวนที่ติดอยูกับเสาตอจากรวงผึ้งลงมา, บัวหัวเสา กลีบบัวประดับบนหัวเสา มี

               รูปแบบมาจากดอกบัว


               จิตรกรรมไทยคืออะไร


                     จิตรกรรมไทย จัดเปนภาพเลาเรื่องที่เขียนขึ้นดวยความคิดจินตนาการของคนไทย
               โดยทั่วไปมักเปน 2 มิติ ไมมีแสงเงา สีพื้น จะเปนสีเรียบ ๆ เชน ดํา น้ําตาล เขียว เสนที่ใช

               มักจะเปนเสนโคงชวยใหภาพดูออนชอย นุมนวล ไมแข็งกระดาง จิตรกรรมไทยมักพบในวัด

               ตาง ๆ เรียกวา “จิตรกรรมฝาผนัง” มีลักษณะตามอุดมคติของชางไทย คือ

                     1. เขียนสีแบน ไมคํานึงถึงแสงและเงา นิยมตัดเสนใหเห็นชัดเจน และเสนที่ใช จะแสดง

               ความรูสึกเคลื่อนไหวนุมนวล

                     2. เขียนตัวพระ-นาง เปนแบบละคร มีลีลา ทาทางเหมือนกัน ผิดแผกแตกตางกันดวยสี

               รางกายและเครื่องประดับ

                     3. เขียนแบบตานกมอง  หรือเปนภาพต่ํากวาสายตา   โดยมุมมองจากที่สูงลงสูลาง

               จะเห็นเปนรูป เรื่องราวไดตลอดภาพ

                     4. เขียนติดตอกันเปนตอน ๆ สามารถดูจากซายไปขวาหรือลางและบนไดทั่วภาพ โดย

               ขั้นแตละตอนของภาพดวยโขดหิน ตนไม กําแพงเมือง เปนตน

                     5. เขียนประดับตกแตงดวยลวดลายไทย มีสีทองสรางภาพใหเดนเกิดบรรยากาศ สุข

               สวางและมีคุณคามากขึ้น









             20   ศิลปศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น  :  ทช21003
                  ส�ำนักงำน กศน.จังหวัดกำฬสินธุ์
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25