Page 40 - BookHISTORYFULL.indb
P. 40

แนวปฏิบัติที่ใช้เป็นแนวทางการจัดการศึกษาในสมัยนั้นที่ถือว่าเป็นหลักสูตรการ

          ศึกษาฉบับแรกของไทยคือ “ประกาศการเรียน พ.ศ. ๒๔๒๘ และพระราชบัญญัติการสอบ
          พ.ศ.๒๔๓๓”
                                     ั
                              ื
                                                                �
                                                                        ี
                 พ.ศ. ๒๔๓๕ เม่อมีการต้ง กระทรวงธรรมการ จึงได้จัดทาเอกสารท่ถือเป็น
                                                                      �
                  ี
                                        ึ
          หลักสูตรท่มีระเบียบแบบแผนฉบับแรกข้นและมีการพัฒนาหลักสูตรต่อมาเป็นลาดับ   ดังน  ี ้
                 กระทรวงธรรมการประกาศใช้ในโรงเรียนมูลสามัญคือ “พิกัดสาหรับการศึกษา
                                                                 �
          ร.ศ.๑๑๑” (พ.ศ. ๒๔๓๕) ซึ่งแบ่งการจัดการศึกษาเป็น ๒ ชั้นคือ ชั้นมูลสามัญ ( ชั้นต�่า ๓
          ปี ชั้นสูง ๔ ปี ) และชั้นมัธยมศึกษา (ชั้นกลาง ๔ ปี ชั้นสูง ๔ ปี) สาระประวัติศาสตร์นั้นจะ
          เรียนในวิชา “พงศาวดาร” ซึ่งจะเริ่มเรียนในระดับมูลสามัญชั้นสูง

                 หลักสูตร พ.ศ. ๒๔๓๘ แบ่งเป็นระดับชั้นเป็นประโยค ๑-๓ ประโยค ๑-๒ เรียน
          ประโยคละ  ๓ ปี ส่วนประโยค ๓ เรียน ๔ ปี สาระประวัติศาสตร์ เรียนในวิชา “พระราช
          พงศาวดาร” ตั้งแต่ประโยค ๑  ชั้น ๓ โดยให้อ่านพระราชพงศาวดารย่อ ตอนกรุงเก่า และ

          เรียนต่อเนื่องทุกประโยค
                                   ั
                 หลักสูตรสามัญศึกษาช้นประถมและมัธยม ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ได้ม  ี
                             ึ
                                  ั
                                  ้
                                                         ั
                                                         ้
                                                                 ึ
                                                      ั
                                    �
                                       ั
                                          ื
               ั
                   ุ
          การปรบปรงระบบการศกษาครงสาคญ คอ แบ่งเป็นระดบชนประถมศกษา ๔ ปี และ
          มัธยมศึกษา ๔ ปี โดยให้เรียนวิชา พงศาวดารควบคู่กับภูมิศาสตร์ ในระดับมัธยมศึกษา
                 หลักสูตรสามัญศึกษาส�าหรับสตรี ร.ศ. ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๔๕๐) แบ่งเป็นมูลศึกษา
          ๒ ปี ประถมศึกษา ๓ ปี และมัธยมศึกษา ๔ ปี สาระประวัติศาสตร์จะเรียนในระดับประถม
          ศึกษาซึ่งประกอบด้วย ๘ วิชา ได้แก่ จรรยา ภาษาไทย ค�านวณวิธี ภูมิศาสตร์ พงศาวดาร
          สุขวิทยา ศิลปะ และการเรือน
                 หลักสูตรสามัญศึกษา ร.ศ.๑๓๐ (พ.ศ. ๒๔๕๔) แบ่งเป็นมูลศึกษา ๓ ปี ประถม
                                                                          ื
          ศึกษา ๓ ปี มัธยมสูง ๓ ปี โดยระบุชัดเจนว่า ระดับมูลศึกษา เรียนพงศาวดารเพ่อมุ่ง
          ให้นักเรียนมีความรู้เก่ยวกับประวัติของชาติจนเกิดความรักชาติบ้านเมือง ระดับประถม
                           ี
          ศึกษามุ่งให้มีความรู้ว่า ประเทศไทยเก่ยวข้องกับประเทศอ่นๆ ในโลกอย่างไรและเพ่อให้
                                                      ื
                                       ี
                                                                          ื
          เกิดความรักชาติ ส่วนในระดับมัธยมศึกษา มุ่งให้เกิดความรักชาติและปรารถนาที่จะบ�ารุง
          ชาติบ้านเมือง
                          ้
                 จะเหนว่า ตงแต่ พ.ศ. ๒๔๕๔ หลกสตรการศกษาของไทยได้ให้ความสาคญ
                     ็
                          ั
                                                                            ั
                                               ู
                                                      ึ
                                                                          �
                                             ั
          ต่อการเรียนประวัติศาสตร์เพ่อสร้างจิตสานึกความเป็นไทย ความรักชาติบ้านเมือง
                                  ื
                                           �
          อย่างชัดเจนแล้ว
    38
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45