Page 45 - BookHISTORYFULL.indb
P. 45
ี
ั
หลกสูตรท่สถานศึกษาใช้ในปัจจุบน คอ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนพ้นฐาน
ั
้
ื
ื
ั
ึ
พุทธศักราช ๒๕๕๑ ซ่งเป็นหลักสูตรท่มีโครงสร้างหลักสูตรและใช้มาตรฐานการเรียนรู้
ี
ี
�
เป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเหมือนกัน นัยสาคัญท่แตกต่างคือ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ก�าหนดตัวชี้วัดชั้นปี ระบุสิ่งที่นักเรียน
พึงรู้และปฏิบัติได้ ในระดับการศึกษาภาคบังคับ (ประถมศึกษาปีที่ ๑ – มัธยมศึกษาปีที่ ๓)
และตัวช้วัดช่วงช้นเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ี
ั
(มัธยมศึกษาปีที่ ๔ – ๖)
สาระประวัติศาสตร์ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นพ้นฐาน พุทธศักราช
ั
ื
๒๕๕๑ ในมาตรฐานการเรียนรู้ ๓ ข้อคือ
�
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัย
ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ บนพ้นฐานของความเป็นเหต ุ
ื
เป็นผล มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในแง่
�
ความสัมพันธ์และการเปล่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเน่อง ตระหนักถึงความสาคัญ
ื
ี
และสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย
มีความภาคภูมิใจและธ�ารงความเป็นไทย
มาตรฐานทั้งสามข้อนี้ มีจุดเน้นต่างกัน คือ
มาตรฐาน ส ๔.๑ เน้นความรู้และเข้าใจประวัติศาสตร์และวิธีการศึกษา
ื
ี
�
ประวัติศาสตร์สามารถนาไปใช้สืบค้นเร่องราวท่ตนสนใจได้บนพ้นฐานของความเป็นเหตุผล
ื
เป็นผล
มาตรฐาน ส ๔.๒ เน้นความรู้ความเข้าใจ ในเร่องพัฒนาการและการเปล่ยนแปลง
ี
ื
ของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน สามารถรู้เท่าทันโลกในยุคโลกาภิวัตน์และการอยู่
ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๔.๓ เน้นเรื่องความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญา
ไทยเพื่อให้เกิดความรักและภาคภูมิใจในความเป็นชาติ
โดยหลักการของหลักสูตรสาระประวัติศาสตร์ การจัดหมวดหมู่ก็เพ่อให้กลุ่มก้อน
ื
�
ของความรู้เป็นหมวดหมู่ ให้เข้าใจแนวคิดเชิงหลักสูตร เม่อนาไปสู่การจัดการเรียนการสอน
ื
ี
ควรมีการเรียงลาดับใหม่ กล่าวคือ เรียนมาตรฐาน ๔.๓ ในฐานะท่เป็นเร่องท่ใกล้ตัวผู้เรียน
�
ื
ี
ี
ี
ตามด้วย มาตรฐาน ๔.๒ ในฐานะท่เป็นเร่องพัฒนาการของมนุษยชาติท่มีพ้นท่และมิต ิ
ื
ื
ี
43