Page 43 - BookHISTORYFULL.indb
P. 43

(๔) กลุ่มวิชาพัฒนาบุคลิกภาพ (พลานามัย และ ศิลปศึกษา)

                            (๕) กลุ่มวิชาการงานอาชีพ
                            หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๒๔ มีโครงสร้างเป็น
                                               ั
                                                  ิ
                                                                ื
                                                                     ี
                                                      ื
                                                            ิ
                                        ้
                                        ั
                                      ี
                                             ั
                                   ี
                                          ิ
                                                                             ั
                                                                               ั
                                                                         ิ
                     ระบบหน่วยการเรยนมทงวชาบงคบ วชาเลอกและวชาเลอกเสร ในวชาบงคบแบ่งเป็น ๒
                     ส่วน ส่วนแรกเป็นวิชาสามัญ (ภาษาไทย สังคมศึกษา พลานามัย วิทยาศาสตร์) ส่วนท  ี ่
                     สองเป็นวิชาพื้นฐาน วิชาอาชีพ (ช่างอุตสาหกรรม เกษตรกรรม คหกรรม พาณิชยกรรม
                     ศิลปหัตถกรรม ศิลปกรรม การสาธารณสุข)
                            จะเห็นว่าในหลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๒๑ การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์
                     ในระดับประถมศึกษา จะหลอมรวมวิชาต่างๆ ในลักษณะบูรณาการ อยู่ในกลุ่มสร้างเสริม
                     ประสบการณ์ชีวิต ซ่งกล่าวได้ว่าเป็นการสลายตัวตนของวิชาประวัติศาสตร์อย่างแท้จริง
                                     ึ
                     โดยมุ่งให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ชีวิตกับส่งแวดล้อมรอบตัว ส่วนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
                                                ิ
                                                 ึ
                     และตอนปลาย  ยังคงเป็นวิชาหน่งในกลุ่มสังคมศึกษา  ตามแนวคิดของหลักสูตร
                     พุทธศักราช ๒๔๙๘ ที่มีลักษณะเป็น Broad Fields Curriculums
                                                                   ั
                            ต่อมากรมวิชาการได้ประเมินผลการใช้หลักสูตรท้ง ๓ ระดับ พบว่ามีปัญหา
                                                                                  ึ
                     หลายประการ โดยเฉพาะอย่างย่งในด้านการพัฒนาคนให้มีความสามารถพ่งตนเอง
                                               ิ
                                                                      �
                                      ี
                     และการนาเทคโนโลยีท่เหมาะสมมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทาให้กรมวิชาการปรับปรุง
                            �
                     หลักสูตรทุกระดับให้สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา ใน พ.ศ. ๒๕๓๓ ซึ่งได้มี
                     การประกาศใช้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓)
                     หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช ๒๕๒๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๓๓) และ
                     หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช ๒๕๒๔ (ฉบับปรับปรุง ๒๕๓๓) ซ่งท้ง
                                                                                        ั
                                                                                      ึ
                                                   ่
                     ๓ ระดบยงคงโครงสรางหลกสูตรเดมแตได้มการปรบปรุงใหสอดคล้องกบสภาพและความ
                                                                   ้
                                                            ั
                                                       ี
                                                                            ั
                                          ั
                                     ้
                            ั
                          ั
                                                ิ
                                  ิ
                     ต้องการในท้องถ่น และให้โรงเรียนจัดการเรียนการสอนโดยใช้ “ทักษะกระบวนการ ๙
                                                              ั
                     ประการ” ในกลุ่มประสบการณ์ ทุกวิชา และทุกระดับช้นหลักสูตร ดังกล่าวน้ใช้ต่อมาจนถึง
                                                                              ี
                     หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
                                 ื
                            สืบเน่องจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และ
                     พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ท่กาหนดนโยบายการกระจายอานาจ
                                                                                     �
                                                               �
                                                              ี
                                        ิ
                                                             ื
                                                          ั
                     การจัดการศึกษาสู่ท้องถ่นและการจัดการศึกษาข้นพ้นฐานของปวงชน โดยขยายการศึกษา
                     ภาคบังคับจาก ๖ ปี เป็น ๙ ปี และขยายการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น ๑๒ ปี ให้ทั่วถึงและ
                     มีคุณภาพ   ส่งผลให้กรมวิชาการได้ปรับปรุงหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๓๓ มาเป็นหลักสูตร
                     การศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มุ่งหวังให้หลักสูตร เป็น “ยุทธศาสตร์” ส�าคัญที่จะผลักดันให้เกิด
                              ี
                                                                           ื
                                                                             �
                     การปรับเปล่ยนพฤติกรรมการสอนจากครูจากผู้บอกความรู้  มาเป็นผู้เอ้ออานวยให้ผู้เรียน
                                                                                            41
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48