Page 48 - BookHISTORYFULL.indb
P. 48

ั
                                       ื
                   ิ
          กล่าวคือ รู้ส่งละอันพันละน้อยเพียงเพ่อให้ตอบข้อสอบปรนัยได้เท่าน้น  จึงสมควรจะได้
                                                                 ี
                                              �
                                                    ี
                                                          ี
                                             ี
          พิจารณาโครงสร้างของหลักสูตร ดูว่ามีอะไรท่จาเป็นท่เด็กวัยน้ควรรู้ ท่เราควรให้ส่วนท ่ ี
          เหลือก็ให้โอกาสเด็กได้แสวงหาด้วยตนเองบ้าง ดังน้นจึงควรลดเน้อหาลงเพ่อเปิดทางให้ผู้
                                                                   ื
                                                            ื
                                                 ั
          สอนและผู้เรียนได้ลงลึกในสาระส�าคัญ เพื่อเป็นรากฐานที่ดีในการแสวงหาความรู้ต่อไปใน
          ภายภาคหน้า” (กระทรวงศึกษาธิการ, ๒๕๓๑ : ๙)
                 นอกจากน้ เน่องจากสังคมเป็นวิชาท่หลากหลายเน้อหาและกว้างขวางมาก
                         ี
                            ื
                                               ี
                                                           ื
                                                                           ื
                                                   ั
                             ี
          ครูผู้สอนไม่สามารถจะเช่ยวชาญในทุกๆ วิชาได้ ดังน้นครูส่วนมากจึงจะเน้นเฉพาะเร่อง
           ี
                                               ึ
          ท่ตนเองเช่ยวชาญและละเลยคุณลักษณะเฉพาะ ซ่งเป็นเอกลักษณ์ของวิชาต่างๆ โดยเฉพาะ
                 ี
                      ึ
          ประวัติศาสตร์ ซ่งศาสตราจารย์นิธิ เอียวศรีวงศ์และศาสตราจารย์อาคม พัฒิยะ ผู้ทรงคุณวุฒ ิ
          ทางประวัติศาสตร์ ได้อธิบายความแตกต่างของประวัติศาสตร์จากสังคมศาสตร์สาขาอ่นๆ
                                                                           ื
                               �
                                                               ี
          ว่า ประวัติศาสตร์ให้ความสาคัญกับลักษณะเฉพาะของสังคมมนุษย์ท่จะแตกต่างกันและ
                                                                 ี
          พัฒนาไปท่ามกลางเวลา หรือท่ามกลางปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ของสังคม ท่เรียกว่า  “มิติของ
          เวลา” (นิธิ เอียวศรีวงศ์ และอาคม พัฒิยะ, ๒๕๒๕ : ๖ – ๑๒)   ซึ่งสังคมศาสตร์สาขาอื่น
                      �
                              ื
                                                                       ี
                                  ี
          ไม่ได้ให้ความสาคัญในเร่องน้ รวมท้งหัวใจของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท่เรียกว่า
                                        ั
                                      ี
                                                       ี
          “กระบวนการทางประวัติศาสตร์” ท่เน้นความมีเหตุมีผลท่ได้จากการประเมินคุณค่าของ
          หลักฐาน ดร. วินัย พงศ์ศรีเพียร กรรมการช�าระประวัติศาสตร์ไทยได้แสดงความคิดเห็น
          เก่ยวกับปัญหา และอุปสรรคในการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ว่า สาเหตุหน่งมาจาก
           ี
                                                                       ึ
          “การสลายความเป็นเอกเทศของวิชาประวัติศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ในประเทศไทยหลัง
                                      ึ
               ั
                                           ิ
                      ั
          การปรบปรงหลกสตรของกระทรวงศกษาธการใน พ.ศ. ๒๕๒๑ ในขณะทประเทศตะวน
                                                                            ั
                                                                   ี
                   ุ
                                                                   ่
                        ู
             ั
          ตกท้งหมด และประเทศเพ่อนบ้านของเราต่างก็ยังถือว่าประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอกเทศ
                               ื
          บางประเทศ เช่น จีน เวียดนาม ญี่ปุ่น เกาหลี ฝรั่งเศส เยอรมนี อังกฤษ สหรัฐอเมริกา
                                                                  ึ
          และมาเลเซีย ให้ความสาคัญแก่วิชาประวัติศาสตร์มากเป็นพิเศษ ส่วนหน่งเป็นเพราะการ
                            �
          สั่งสมด้านภูมิปัญญาที่ยาวนาน    ส่วนหนึ่งเป็นเพราะเหตุวิกฤตที่ชาติเหล่านั้นเผชิญในยุค
                       ี
                             ี
                        �
          อาณานิคม แต่ท่สาคัญท่สุดจากแง่มุมของการศึกษาก็คือ การตระหนักว่าการเรียนรู้
          ประวัติศาสตร์ชาติ เท่ากับเป็นการท�าความรู้จักสังคมของตนเอง นอกจากนี้ประวัติศาสตร์
                                                 ั
                ี
          เท่าน้นท่จะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งม่นในปณิธานแห่งชาติและความเข้าใจ
              ั
          วัฒนธรรมประจาชาติ แม้มีผู้อธิบายว่าจานวนเน้อหาและช่วโมงเรียนของประวัติศาสตร์ไทย
                      �
                                                     ั
                                              ื
                                       �
          ไม่ได้ลดน้อยลงกว่าสมัยก่อนเลยแต่น่นไม่ใช่ประเด็นสาคัญ ตราบเท่าท่องคาพยพของ
                                                     �
                                                                  ี
                                       ั
                                                     ื
          ประวัติศาสตร์ ถูกแยกออกไปเป็นส่วน ในรายวิชาช่อประหลาดต่างๆ” (กระทรวง
          ศึกษาธิการ, ๒๕๔๓: ๓-๔)
    46
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53