Page 53 - BookHISTORYFULL.indb
P. 53
ี
�
ในสาระเร่องเวลาดังกล่าวน้ จุดเน้นสาคัญคือให้ผู้เรียนเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง
ื
ี
ึ
�
ื
เวลากับเร่องราวสาคัญของมนุษยชาติท่เกิดข้นในช่วงเวลาต่างๆ กัน มีความรู้พ้นฐาน
ื
ุ
้
ู
่
์
เพอใหสามารถนาความร้เรองเวลามาใช้ในการศกษาทาความเข้าใจ และวเคราะหเหตการณ ์
ื
่
ึ
ิ
�
�
ื
ื
�
ึ
ตามลาดับเวลาได้ถูกต้อง เน่องจากเหตุการณ์ท่เกิดก่อนย่อมเป็นเหตุ ซ่งจะส่งผล
ี
ี
ี
ต่อเหตุการณ์ท่เกิดข้นท่หลังและให้ผู้เรียนใช้เวลาในการบอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ได้ถูกต้องด้วย
ึ
สาระเรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์
ื
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง วิธีการสืบค้นเร่องราวในอดีตของ
สังคมมนุษย์โดยใช้หลักฐานอย่างเป็นระบบ
ี
ี
ึ
ื
ั
ช่วงช้นท่ ๑ เป็นการฝึกฝนการสืบค้นเร่องราวท่เกิดข้นกับตนเองครอบครัว
�
ี
และชุมชน โดยใช้หลักฐานท่หลากหลายได้อย่างเป็นระบบและนาเร่องราวท่ค้นพบได้น ี ้
ี
ื
ื
มาบอกเล่าหรือนาเสนอด้วยวิธีการง่ายๆ เช่น การเล่าเร่อง การใช้เส้นเวลาเรียงล�าดับ
�
ี
ี
เหตุการณ์ วิธีการสืบค้นท่ใช้ในช่วงช้นน้ เช่น การสอบถาม ศึกษาจากภาพ เอกสาร แผนภูม ิ
ั
ื
แผนท่ แผนผัง สถานท่จริง หรือศึกษาจากหนังสือต่างๆ เพ่อให้มีทักษะในการรวบรวม
ี
ี
ข้อมูลที่ใกล้ตัวและน�าเสนอได้อย่างสนุกสนาน น่าสนใจ
ี
ช่วงชนท ๒ เป็นการสืบค้นเรื่องราวเก่ยวกับประวัติความเป็นมาและวิถีชีวิต
้
ั
่
ี
ของท้องถิ่นและสังคมไทย เช่น ประเพณี และวัฒนธรรมในพื้นที่ต่างๆ โดยเริ่มจากจังหวัด
ภูมิภาคและประเทศไทยสามารถรวบรวมข้อมูลและจัดระบบข้อมูลได้ถูกต้อง แยกแยะ
และประเมินค่าของข้อมูลได้ชัดเจน ซึ่งการสืบค้นดังกล่าวจะเป็นพ้นฐานเบ้องต้น
ื
ื
ในการด�าเนินชีวิตในโลกยุคโลกาภิวัตน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วงชั้นที่ ๓ เป็นการศึกษาความหมาย ความส�าคัญและขั้นตอนของวิธีการทาง
ี
ประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ รู้จักประเภทของข้อมูลและแหล่งท่มาของข้อมูลหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์และสามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ศึกษาเรื่องราวในอดีตที่ตนสนใจได้
ี
ั
ดังน้นในช่วงช้นท่ ๓ ผู้เรียนจะได้รู้จักและเข้าใจวิธีการสืบค้นอดีต ในแต่ละขั้นตอน
ั
�
อย่างง่ายๆ และนาไปใช้ในการศึกษา อภิปราย ประวัติความเป็นมาของไทยและสังคมมนุษย์
ในภูมิภาคอื่นๆ ของโลกได้
ช่วงช้นท่ ๔ เป็นการศึกษาข้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์อย่างลุ่มลึกข้น
ึ
ั
ั
ี
ื
เพ่อให้สามารถนาหลักการดังกล่าวไปใช้ในการสร้าง “ความรู้ใหม่” ทางประวัติศาสตร์
�
ที่เรียกว่า “โครงงานทางประวัติศาสตร์” หรืองานวิจัยเล็กๆ ที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
ของผู้เรียนและความสนใจของตน
โดยในขั้นต้นคือ การรวบรวมข้อมูล เพื่ออธิบายได้ว่า ใคร ท�าอะไร ที่ไหน
เมื่อไหร่ มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
51