Page 52 - BookHISTORYFULL.indb
P. 52

ื
                                              ั
                                                               ื
                 จากตารางมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้น ส ๔.๑ ว่าด้วยเร่องความรู้พ้นฐาน
                                                       ื
          ทางประวัติศาสตร์ และวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ ท้งน้เพ่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้
                                                   ั
                                                     ี
                                                           ี
                                                           ่
              ิ
                   ั
                               ุ
                                               ่
                                               ื
                                                               ้
                                                                      ึ
                                                                      ้
                                                                    ิ
                                                                           ื
          และวธีการดงกล่าวไปประยกต์ใช้ในการศึกษาเรองราวต่าง ๆทเกิดขนทเกดขนในพนท  ่ ี
                                                                           ้
                                                               ึ
                                                                  ี
                                                                  ่
          ที่ต่างเวลา และ ต่างสถานที่ ได้อย่างเป็นระบบ
                                                                ื
                                                          ื
                 สาระเน้อหามาตรฐาน ส ๔.๑ สามารถแบ่งออกได้ ๒ เร่องคือ เร่องเวลาและวิธีการ
                      ื
          ทางประวัติศาสตร์
                 สาระเรื่องเวลา
                 ช่วงชั้นที่ ๑ เป็นการศึกษาเรื่องเวลาในปฏิทิน ซึ่งจะมีระบบเวลาทั้งทางสุริยคติ
                            ั
                                                                 ึ
           ี
          ท่เป็นหลักสากลใช้กันท่วไปในปัจจุบันและระบบเวลาทางจันทรคติ ซ่งในปฏิทินจะใช้
               �
          ในวันสาคัญทางศาสนา และประเพณีไทย เช่น วันลอยกระทง เป็นต้น การเรียนรู้เวลา
          ในช่วงช้นท่ ๑ เพ่อให้ผู้เรียนใช้เวลาท่มีความสัมพันธ์กับอดีต ปัจจุบัน อนาคต บอกเล่า
                                       ี
                       ื
                ั
                  ี
                  ่
           ื
                  ี
                                        ั
                   ี
          เร่องราวทเกยวข้องกับตนเอง ครอบครวและชุมชนได้อย่างถูกต้องและให้สามารถเข้าใจ
                   ่
          ลาดับเหตุการณ์ได้ถูกต้อง เพราะการศึกษาประวัติศาสตร์มีหลักการว่าเหตุการณ์ท่เกิดก่อน
                                                                       ี
           �
                                                         ี
                                         ึ
                                            ี
                                                   �
          ย่อมเป็นเหตุท่มีผลต่อเหตุการณ์ท่เกิดข้นท่หลัง จึงจาเป็นท่จะต้องให้ผู้เรียนมีพ้นฐาน
                     ี
                                                                         ื
                                     ี
          ความรู้เรื่องเวลาอย่างง่ายๆ
                 ช่วงชั้นที่ ๒ เป็นการศึกษาช่วงเวลา ประกอบด้วย ทศวรรษ (๑๐ ปี) ศตวรรษ
          (๑๐๐ ปี) และสหัสวรรษ (๑,๐๐๐ ปี) ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่พบเห็นเสมอในเอกสารที่กล่าว
          ถึงเหตุการณ์ส�าคัญในอดีตนอกจากวัน เดือนและศักราช ที่เรียนแล้วในช่วงชั้นที่ ๑ ดังนั้น
          การเรียนรู้ในช่วงชั้นที่ ๒ จึงเป็นการเรียนเวลาที่ต่อยอดจากการเรียนในช่วงชั้นที่ ๑ และ
          เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้ชัดเจนถูกต้อง
                                                            �
                 ช่วงช้นท่ ๓ ในระดับมัธยมศึกษาเป็นการศึกษาความสาคัญและวิธีการนับช่วง
                        ี
                     ั
          เวลา ที่เกี่ยวข้องกับประวัติศาสตร์ เวลาในช่วงชั้นนี้จะศึกษาความหมายและการใช้ศักราช
          ต่างๆ ที่ปรากฏในเอกสารไทย ได้แก่ พ.ศ. / ค.ศ. / ม.ศ. / จ.ศ. / ร.ศ. สามารถเทียบ
          ศักราชในระบบต่างๆ ได้ รวมทั้งความหมาย และความส�าคัญของสมัยก่อนประวัติศาสตร์
                                                        ี
          สมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทยและภูมิภาคเอเชีย ท้งน้เพ่อให้เข้าใจเหตุการณ์ทาง
                                                     ั
                                                          ื
          ประวัติศาสตร์ได้ถูกต้อง
                                                                   ั
                        ี
                                   ึ
                                              ี
                     ั
                                                                     ิ
                                                        ุ
                 ช่วงช้นท่ ๔ เป็นการศกษาเปรียบเทยบระหว่างยคสมัยในประวตศาสตร์ไทย
                                        ี
                                                              ื
          กับประวัติศาสตร์สากลและภูมิภาคท่สาคัญต่างๆ  ของโลก  เน่องจากแต่ละสังคม
                                          �
          ต่างสร้างเกณฑ์กาหนดช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แตกต่างกัน ท้งน้เพ่อให้เข้าใจ
                                                                    ี
                                                                      ื
                      �
                                                                  ั
                                               ื
                   �
                                     ี
                                          ึ
                                                         ี
                                                                    ื
          เหตุการณ์สาคัญของมนุษยชาติท่เกิดข้นในพ้นท่ต่างๆ  ท่มีความต่อเน่องของเวลา
                                                  ี
          ได้อย่างถูกต้อง
    50
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57